Page 158 - kpi20109
P. 158
156 15
ภาคีเครือข่ายอื่นๆ และมีการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมจิตอาสาของตำบลดอนแก้ว ซึ่งในปัจจุบัน 1) หลักสูตรการจัดการสุขภาพชุมชนสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายโอนสถานี
มีจิตอาสาในพื้นที่ที่จบตามหลักสูตรวิทยาลัยจิตอาสาตำบลดอนแก้วจำนวน 220 คน และผู้ที่ อนามัย และ 2) หลักสูตรการบริหารงานท้องถิ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นองค์กรปกครอง
ประสบปัญหาทางสังคมได้รับบริการช่วยเหลือจากทีมจิตอาสามืออาชีพแล้วจำนวน 1,950 ราย ส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายโอนสถานีอนามัย ท้องถิ่นจังหวัด รวมถึงท้องถิ่นอำเภอทั่วประเทศที่จะ
ส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ต้องมาเข้ารับการอบรมจากมหาวิชชาลัยดอนแก้วสร้างสุข
กล่าวได้ว่า โครงการเครือข่ายวิทยาลัยจิตอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยองค์การบริหาร หน้าที่ในการดำเนินงานของเครือข่าย
ส่วนตำบลดอนแก้วเป็นนวัตกรรมที่มีความโดดเด่นสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาด เครือข่ายภายในองค์กร
เล็กที่ต้องการส่งเสริมและสร้างเครือข่ายจิตอาสาให้เกิดขึ้นในพื้นที่ด้วยตนเอง โดยการสร้าง
เครือข่ายทั้งในและนอกพื้นที่จนนำมาสู่การสร้างสรรค์โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. โรงพยาบาลชุมชนตำบลดอนแก้ว เป็นโรงพยาบาลต้นแบบการถ่ายโอนสถานีอนามัย
ของประชากรกลุ่มพิเศษที่มีปัญหาทางสังคมได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันได้ ที่ประสบความสำเร็จในการบริหารงานเชิงรุกให้กับประชาชน ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ
ตามชุดสิทธิประโยชน์ของตนได้ครบถ้วน เป็นผู้ออกแบบหลักสูตร ออกแบบระบบการเรียนรู้
เครือข่ายการจัดการสุขภาพชุมชน : สถานีอนามัยถ่ายโอน การบริหารจัดการพื้นที่ และประสานงานติดตามเครือข่าย
จากการพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง 2. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม กองคลัง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ที่มีการกระจายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดระบบบริการ กองช่าง กองส่งเสริมการเกษตร และสำนักปลัด ทำหน้าที่เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดบทบาท
สาธารณะด้านสาธารณสุข ทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้วต้องพัฒนาศักยภาพขององค์กร หน้าที่ของแต่ละหน่วยงานในการให้การสนับสนุนช่วยเหลืองานของสถานีอนามัยถ่ายโอน
เพื่อยกระดับบริการสาธารณะ และพัฒนาบริการสาธารณะให้เทียบเท่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สากล โดยเริ่มจากการลูกข่ายขององค์การบริหารส่วนตำบลปากพูน จังหวัดนครศรีธรรมราช เครือข่ายภายในพื้นที่
ในโครงการตำบลสุขภาวะเครือข่าย ในช่วงปี พ.ศ. 2552-2554 และได้พัฒนาศักยภาพพื้นที่ของ 1. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โรงพยาบาลนครพิงค์ ทำหน้าที่ให้การสนับสนุน
ตนเองจนถูกยกระดับให้เป็นแม่ข่ายในปีพ.ศ.2553 สามารถยกระดับเครือข่ายตำบลสุขภาวะ วิทยากรในการเรียนรู้
เป็นมหาวิชชาลัยดอนแก้วสร้างสุข พร้อมทั้งถอดบทเรียนวิธีการทำงานจนได้เป็นองค์ความรู้ 2. กลุ่มอาสาสมัครต่างๆ และปราชญ์ชาวบ้าน มีหน้าที่เป็นวิทยากรแห่งเรียนรู้ต่างๆ
ที่ครอบคลุมสามารถถ่ายทอดให้แก่พื้นที่หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่สนใจ
เครือข่ายภายนอกพื้นที่
จากการพัฒนาและยกระดับเครือข่ายตำบลสุขภาวะเป็นมหาวิชชาลัยดอนแก้วสร้างสุข 1. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มีหน้าที่กำหนดนโยบายการขับเคลื่อนเครือข่าย
จนสามารถสร้างองค์ความรู้และเผยแพร่ไปยังหน่วยงานอื่นๆ ได้นั้น นำไปสู่การทำบันทึกข้อตกลง สถานีอนามัยถ่ายโอน โดยให้การช่วยเหลือในการกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับ
ความร่วมมือ (MOU) 3 ฝ่าย ได้แก่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น สำนักงานกองทุนสนับสนุน ถ่ายโอนภารกิจฯ จะต้องเข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรการจัดการสุขภาพชุมชน : สถานีอนามัย
การสร้างเสริมสุขภาพ และองค์การบริหารส่วนตำบลดอนแก้ว เพื่อสร้างการเรียนรู้ การจัดการ ถ่ายโอน
สุขภาพขุมชนเชิงพื้นที่ ยกระดับการบริหารจัดการ และการจัดบริการสาธารณะในพื้นที่ถ่ายโอน
สถานีอนามัยให้มีความครอบคลุม และพัฒนาศักยภาพ ทักษะของบุคลากรองค์กรปกครอง 2. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ให้การสนับสนุนด้าน
ส่วนท้องถิ่น บุคลากรสถานีอนามัยถ่ายโอน ผู้นำ อาสาสมัคร ให้สามารถออกแบบระบบบริการ งบประมาณ
สาธารณสุขและบริการสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ โดยมีการจัดทำหลักสูตร 2 หลักสูตร คือ
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61