Page 224 - kpi20109
P. 224

222                                                                                                                                                       22


              2.  Good Environment จัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง เช่น         โครงการไผ่ทองร่วมใจพิชิตภัยในภาวะฉุกเฉิน
        การเรียนการสอนว่ายน้ำ โดยเทศบาลได้สร้างสระว่ายน้ำเอาไว้ในโรงเรียน การจัดกิจกรรมเรียนรู้
        นอกสถานที่ การจัดกิจกรรมเกษตรพอเพียง ฯลฯ                                                    โครงการนี้มีที่มาจากปัญหาการเข้าไม่ถึงบริการระบบการแพทย์ฉุกเฉินของประชาชน
                                                                                              ในพื้นที่ เนื่องจากที่ตั้งของตำบลป่าไผ่อยู่ห่างจากโรงพยาบาลประจำอำเภอลี้ จังหวัดลำพูน
              3.  Good Service พัฒนาบริการที่ดี มีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ    ประมาณ 11 กิโลเมตร และในพื้นที่ไม่มีระบบการแพทย์ฉุกเฉินเป็นของตนเอง ทำให้มีผู้ประสบ
        ได้ กิจกรรมที่โดดเด่นจากแนวคิดนี้ ได้แก่ การจัดรถรับ-ส่งนักเรียน สำหรับนักเรียนที่อยู่ในสภาพ  อุบัติเหตุเสียชีวิตก่อนนำส่งโรงพยาบาลหรือเกิดการบาดเจ็บแทรกซ้อนจนเป็นเหตุให้พิการ
        ยากลำบาก โดยมีการนำโปรแกรมไลน์มาใช้ติดตาม ติดต่อ ประสานงาน ชี้แจง และแจ้งข้อมูล       เป็นจำนวนมาก ประกอบกับสถิติและความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ก็มีแนวโน้ม
        ที่จำเป็นให้ผู้ปกครองทราบ เช่น แจ้งเวลารับ-ส่งนักเรียนในแต่ละจุด ฯลฯ                  เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วย ด้วยเหตุนี้ ทางเทศบาลตำบลป่าไผ่จึงจัดโครงการนี้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
                                                                                              โดยมีเป้าหมายหลักคือการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ให้ประชาชนเข้าถึงได้สะดวกและ
              4.  Good Governance การบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดยการให้ผู้ปกครอง

        เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานของโรงเรียน                                             เท่าเทียม เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและความพิการ รวมถึงความเจ็บปวดและทรมานทั้งกายและใจ
                                                                                              ของผู้ป่วยและครอบครัว และช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยฉุกเฉิน
              5.  Information Technology การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จัดการศึกษาของ            โดยเบื้องต้นทางเทศบาล (ซึ่งในขณะนั้นยังมีฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล) ได้จัดทำข้อตกลง
        โรงเรียน ได้แก่ นำระบบอินเตอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมประยุกต์ (application        ร่วมกันกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูนและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน ภายใต้
        software) เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก ฯลฯ มาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน รวมทั้งเป็นช่องทางในการ   โครงการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดลำพูน เพื่อนำระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน รวมถึง
        ประเมินพัฒนาการ ติดต่อสื่อสาร ชี้แจง ทำความเข้าใจ หรือสอบถามความต้องการจากผู้ปกครอง   รถกู้ชีพฉุกเฉิน มาให้บริการประชาชนที่ประสบเหตุทั้งในและนอกครัวเรือน โดยครอบคลุมทั้งพื้นที่

                                                                                              ตำบลป่าไผ่และพื้นที่ใกล้เคียงหากมีการร้องขอ
              สำหรับการส่งเสริมความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการนี้ จะอยู่ใน
        รูปของการเปิดให้ประชาชนทั่วไปและผู้ปกครองของนักเรียนเข้ามาร่วมตัดสินใจในขั้นตอน             แนวทางการดำเนินโครงการนี้ ให้ความสำคัญกับการทำงานร่วมกับประชาชนในพื้นที่และ
        การดำเนินการต่างๆ ดังนี้                                                              ภาคีเครือข่าย ได้แก่ โรงพยาบาลอำเภอลี้ โรงพยาบาลสุขภาพตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                                                                              ข้างเคียง ตำรวจ ทหาร กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) กลุ่มอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย
              1.  ประชาชนทั่วไป เข้ามามีส่วนร่วมในรูปของประชาคมในการตัดสินใจตั้งแต่ขั้นก่อน
        ริเริ่มโครงการ โดยมีมติให้ทางเทศบาลยุบรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้ง 7 แห่งให้กลายเป็นโรงเรียน  พลเรือน และฝ่ายปกครองพื้นที่ตำบลป่าไผ่
        อนุบาลป่าไผ่เพื่อให้การจัดบริการด้านการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมถึงมีส่วนร่วมติดต่อ    สำหรับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนของโครงการนี้ ทางเทศบาลได้ให้ประชาชน

        สื่อสารและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง   ในตำบลป่าไผ่สะท้อนปัญหาด้านการจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ รวมทั้งเปิดโอกาสให้
                                                                                              เข้ามารับความรู้และมีส่วนร่วมในกระบวนการรักษาพยาบาลฉุกเฉินทุกขั้นตอน ดังนี้
              2.  ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการจัดทำหลักสูตรการศึกษาและกระบวนการเรียนรู้ทั้งที่บ้าน
        และสถานศึกษาของนักเรียน ผ่านการประชุมผู้ปกครอง และการเป็นตัวแทนผู้ปกครองใน                  1.  จัดการรับฟังปัญหาและความเดือดร้อนของประชาชนเกี่ยวกับการจัดการระบบ
        คณะกรรมการต่างๆ เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ฯลฯ                  การแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อนำไปจัดทำแผนงานโครงการ
        นอกจากนี้ทางเทศบาลยังเปิดช่องทางให้ผู้ปกครองได้แสดงความคิดเห็นผ่านทางกลุ่มในโปรแกรม

        ไลน์ได้โดยตรง                                                                               2.  ร่วมงานกับหน่วยงานระดับอำเภอและจังหวัด จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพประชาชน
                                                                                              ให้มีความรู้และความสามารถในการรับมือกับภาวะฉุกเฉินต่างๆ เพื่อให้ทราบกระบวนการและ


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229