Page 225 - kpi20109
P. 225

22                                                                                                                                                        225


        สามารถช่วยเหลือผู้ประสบเหตุเบื้องต้นอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อนหน่วยงานภายนอกจะเข้ามา     แล้วเสร็จ โดยมีแนวคิดว่าจะต้องจัดตั้งการทำงานในรูปแบบศูนย์กลางประสานงานเพื่อรวบรวม
        ช่วยเหลือ                                                                             ข้อมูลผู้ประสบปัญหาให้เป็นระบบ และทำให้เกิดการทำงานร่วมกันกับภาคส่วนต่างๆ ไปในทิศทาง
                                                                                              เดียวกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนและขั้นตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงป้องกันความขัดแย้งในชุมชนและ
              3.  ให้ประชาชนในพื้นที่ที่ผ่านการพัฒนาศักยภาพเข้าร่วมให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน

        ในสถานที่เกิดเหตุจริงก่อนส่งผู้ป่วยต่อให้สถานพยาบาล อาทิ แจ้งเหตุ ปฐมพยาบาลขั้นต้น รับ-ส่ง  การถูกร้องเรียน ในขณะเดียวกัน ก็สร้างเครือข่ายเพื่อมาช่วยเหลือด้านเงินทุนและบุคลากรด้วย
        ผู้ป่วยจากจุดเกิดเหตุไปยังสถานพยาบาล อำนวยความสะดวกในที่เกิดเหตุ (เช่น จัดช่องทางจราจร   จึงเป็นที่มาของการจัดตั้ง “ศูนย์ประสานงานแก้ไขปัญหาด้านที่อยู่อาศัยแก่ราษฎรผู้มีรายได้น้อย
                                                                                              ตำบลป่าไผ่” ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560
        ทำสัญลักษณ์แจ้งผู้ใช้รถใช้ถนนทราบว่ากำลังเกิดอุบัติเหตุ กันผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องออกจากพื้นที่
        ฯลฯ กรณีที่เกิดอุบัติเหตุบนถนน) ประสานญาติหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้ประสบเหตุ เป็นต้น    ขั้นตอนการดำเนินการของศูนย์ มีดังนี้

              ผลจากการนำประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการนี้ คือ ประชาชน           1.  เทศบาลตำบลป่าไผ่ สภาองค์กรชุมชน ฝ่ายปกครอง อสม. โรงพยาบาลส่งเสริมสุข

        ผู้ที่ประสบเหตุฉุกเฉินสามารถเข้าถึงการบริการการแพทย์ฉุกเฉินเมื่อเกิดเหตุหรือมีการร้องขอ     ภาพตำบล และชมรมผู้สูงอายุ ร่วมกันสำรวจข้อมูลราษฎรที่มีรายได้น้อยและต้องการที่อยู่อาศัย
        ได้รวดเร็วและทั่วถึงยิ่งขึ้น ส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตและพิการลดลง ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า สาเหตุ  2.  ทุกหน่วยงานที่ออกสำรวจข้อมูลส่งข้อมูลมายังศูนย์เพื่อจัดทำฐานข้อมูล
        ส่วนหนึ่งมาจากการดำเนินการของประชาชนในการเข้าถึงเหตุการณ์ได้อย่างรวดเร็วและจัดการกับ
        เหตุการณ์ได้ตามที่ตนได้รับการพัฒนาศักยภาพมาแล้ว                                             3.  แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองระดับตำบล ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่เทศบาลตำบล
                                                                                              ป่าไผ่ (อย่างน้อยประกอบด้วยฝ่ายบริหาร ฝ่ายสภาเทศบาล ปลักหรือรองปลัด และเจ้าที่
        โครงการแก้ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยแก่ราษฎรผู้มีรายได้น้อย
                                                                                              กองสวัสดิการสังคมและกองช่าง) สภาองค์กรชุมชน อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
              โครงการนี้มีที่มาจากปัญหาผู้มีรายได้น้อยไม่มีที่อยู่อาศัยหรือมีแต่อยู่ในสภาพไม่มั่นคง  มนุษย์ และฝ่ายปกครอง ทำหน้าที่พิจารณาคัดเลือกครัวเรือนที่จะจัดสร้างบ้านให้ โดยจะต้อง
        ปลอดภัย รวมถึงไม่มีศักยภาพที่จะก่อสร้างหรือซ่อมแซมบ้านด้วยตนเอง โดยผู้มีรายได้น้อยในที่นี้   ลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อเท็จจริง แล้วนำมาประชุมพิจารณาร่วมกัน

        ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการ วัยแรงงานที่มีภาระดูแลผู้สูงอายุหรือส่งเสียเด็กและเยาวชน
        ในครอบครัว จากปัญหาดังกล่าว ทางเทศบาลจึงจัดงบประมาณช่วยเหลือ 1 แสนบาทต่อปี                  4.  จัดทำแบบแปลนบ้านและประมาณการงบประมาณโดยช่างชุมชน
                                                                                                    5.  ขอสนับสนุนงบประมาณ โดยการนำข้อมูลที่ได้รับจากขั้นตอนที่ 1-3 จัดส่งไปยัง
              การดำเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งเมื่อช่วงปลายปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
        สืบเนื่องจากการสำรวจผู้มีรายได้น้อยที่ประสบปัญหาด้านที่อยู่อาศัยเพื่อเข้าร่วมโครงการ    หน่วยงานต่างๆ เพื่อขอรับการสนับสนุน
        บ้านพอเพียง ที่ประชุมระดับจังหวัดได้คัดเลือกครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ 4 ครัวเรือน ซึ่งเกินจาก  6.  ประชุมวางแผนงานเพื่อนัดหมายและแบ่งหน้าที่การทำงาน ดังนี้
        จำนวนที่เทศบาลกำหนดไว้ ทำให้ไม่เพียงพอกับงบประมาณที่มี ประกอบกับขาดแรงงานที่จะ                6.1  ฝ่ายจัดเตรียมสถานที่ ได้แก่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และ

        มาสร้างบ้าน และราษฎรที่ต้องการความช่วยเหลือยังตกค้างอยู่อีก 7 ครัวเรือน ในขณะที่ราษฎร            ราษฎรเจ้าของบ้าน
        ที่มาแจ้งความประสงค์ก็มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง                                          6.2  ฝ่ายก่อสร้าง ได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ วิทยาลัยเทคนิค
                                                                                                         ลำพูน ทหาร ช่างชุมชน สภาเด็กและเยาวชน กรรมการหมู่บ้าน อุทยานแห่งชาติ
              จากปัญหาที่เกิดขึ้น เทศบาลจึงตัดสินใจดำเนินโครงการนี้ โดยรวมพลังจากทุก
        ภาคส่วน โดยเฉพาะประชาชนในพื้นที่ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันการก่อสร้างครั้งนี้ให้           แม่ปิง และบุคลากรเทศบาลตำบลป่าไผ่




        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230