Page 306 - kpi20109
P. 306
0 05
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีนโยบายในการบริหารที่ว่า “ท้องถิ่นน่าอยู่ ตัวแทนระหว่างประชาชนกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด เพื่อหาข้อสรุปและแนวทางในการ
สู่คุณภาพชีวิตที่ดี มีหลักธรรมาภิบาล” โดยใช้หลักธรรมาภิบาลในบริหารองค์กรอย่างโปร่งใส แก้ปัญหาให้ประชาชนได้อย่างถูกต้อง เป็นการตอบสนองความต้องการของประชาชน นอกจากนี้
ประชาชนมีส่วนร่วม โดยยึด “ประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ซึ่งในการบริหารงานนั้นฝ่ายบริหารได้มี ยังเปิดโอกาสให้กลุ่มองค์กรต่างๆ และประชาชนสามารถเข้ารับฟังการประชุมสภา อีกทั้ง มีการจัด
การแถลงนโยบายแก่ข้าราชการประจําเพื่อให้เกิดการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติโดย ประชุมในพื้นที่อําเภอทุกอําเภอ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างองค์กรกับประชาชน ทําให้เกิด
ผ่านกระบวนการขั้นตอนการจัดทําแผนพัฒนาตามระเบียบอย่างเป็นระบบ โดยต้องให้ประชาชน การมีส่วนร่วมและนําไปสู่การพัฒนาในภาพรวม
มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะก่อนดําเนินการเพื่อให้เป็นไปตาม
5. การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ องค์การบริหาร
ความต้องการและยึดประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่เป็นสำคัญ โดยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ผลงาน กิจกรรมต่างๆ
ส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีภาพรวมในการบริหารงานที่มีความโดดเด่น ดังนี้
ให้ประชาชนทราบหลายช่องทาง เช่น จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสาร โดยได้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ประจําศูนย์
1. การจัดทําแผนและการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น ได้มีการเปิดโอกาสให้ประชาชน เพื่อรับเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ของประชาชนหลายช่องทาง เช่น โทรศัพท์ เว็บไซต์ ฯลฯ
มีส่วนร่วมใน รูปแบบการจัดตั้งคณะกรรมการต่างๆ ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและ 6. การส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมือง มีการดําเนินงานส่งเสริม
ประชาชน กลุ่มองค์กรต่างๆ ในการร่วมคิด เสนอแนะ วางแนวทางในการดําเนินงาน ร่วมติดตาม ศักยภาพและความเข้มแข็งของพลเมืองหลายด้าน โดยร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
ประเมินผลและแก้ไขปัญหาร่วมกัน นําไปสู่การพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้แผนมีประสิทธิภาพ กลุ่มองค์กรต่าง ๆ และประชาชน จัดกิจกรรมที่ปลูกฝังจิตสํานึกและส่งเสริมการทํางานในรูปแบบ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างถูกต้องและทั่วถึง
เครือข่ายให้แก่ประชาชน อาทิเช่น โครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต และการส่งเสริมสุข
2. การจัดทําโครงการและบริการสาธารณะ เปิดโอกาสให้ภาคประชาสังคมในพื้นที่ และ ภาพผู้สูงอายุในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โครงการพัฒนาทักษะการช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้
ประชาชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการดําเนินงาน ตั้งแต่ริเริ่มเสนอแผนงานโครงการ/กิจกรรม (LD) สําหรับผู้ปกครองในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โครงการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะ
ร่วมในการตัดสินใจพิจารณาเห็นชอบโครงการกิจกรรม ร่วมดําเนินงานตามแผน และร่วมติดตาม ข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยแก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ โครงการส่งเสริมพัฒนา
ประเมินผล ศักยภาพแกนนําและเครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โครงการฝึกอบรม
ประชาชน (อาสาสมัครตํารวจบ้าน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นต้น
3. การบริหารงานการเงินการคลัง สร้างวิธีการให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมและเต็มใจ
ในการเสียภาษี โดยจัดให้มีการวางระบบควบคุมภายใน จัดทําบัญชีผู้เสียภาษี จัดทําบัญชี สำหรับเครือข่ายและการดำเนินงานที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้าง
ผู้เสียค่าธรรมเนียมการเข้าพักในโรงแรมโดยวางแนวทางในการให้บริการประชาชนด้วย เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่
ความสะดวก รวดเร็ว พร้อมรับการตรวจสอบ และมีการประชุมผู้ประกอบการทุกกลุ่มเป้าหมาย โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาการจัดการศึกษาพิเศษ (LD)
เพื่อให้ความรู้ แนะนําชี้แจงทําความเข้าใจ และแจ้งให้ทราบถึงผลประโยชน์ที่ผู้ประกอบการ/
ประชาชนจะได้รับ ทําให้ได้รับความร่วมมือจากผู้ประกอบการเป็นอย่างดี ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) ที่แสดง
เจตนารมณ์ในการยกระดับการศึกษาของประชาชนให้สูงขึ้น โดยกำหนดสิทธิและโอกาสของ
4. กิจการสภาท้องถิ่น มีการจัดประชุมสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชาชนในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี ที่รัฐต้องจัดให้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ตามวาระที่กําหนดและความจําเป็นเร่งด่วน เพื่อนําประเด็นปัญหาด้านการให้บริการประชาชน เด็กและเยาวชนพิการ ทุกประเภทมีสิทธิและโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
ปัญหาที่ประชาชนกําลังประสบ โดยได้รับข้อมูลจากสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งเป็น ซึ่งสอดคล้องเชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติ การศึกษาสำหรับคนพิการ 2551 ที่กล่าวถึงสิทธิทาง
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61