Page 307 - kpi20109
P. 307
06 0
การศึกษาของคนพิการในการได้รับโอกาสและบริการทางการศึกษาในทุกระบบและทุกรูปแบบ 7) ศูนย์การศึกษาพิเศษขาดบุคลากร งบประมาณ ห้องปฏิบัติการกระตุ้นพัฒนาการและอุปกรณ์
ที่หลากหลายอย่างมีคุณภาพ เพื่อเป็นการประกันสิทธิและโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคกัน 8) หน่วยงานในพื้นที่ให้ความร่วมมือน้อย และ 9) ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
โดยมีการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนสามารถเรียนร่วมกันได้ โดยไม่แบ่งแยกและไม่เลือกปฏิบัติ ต่ำ โดยมีข้อมูลนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในโรงเรียนที่จัดการเรียนรวมในจังหวัด
ในโรงเรียนทุกแห่ง เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2557 องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2560 จำนวน 466 โรงเรียน ดังนี้
ได้ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวนนักเรียนที่มี
ในทุกภาคส่วนเข้าร่วมประชุมเพื่อระดมสมอง ภายใต้โจทย์ที่ว่า ทำอย่างไรให้เด็กเยาวชน จำนวน ความบกพร่องทางการเรียนรู้
1) เข้าถึงโอกาสทางการศึกษา 2) ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา และ 3) สร้างคุณภาพการศึกษา โรงเรียนสังกัด โรงเรียน รวม
และพัฒนาการเรียนรู้ตามบริบทของพื้นที่จังหวัดในลักษณะ “จังหวัดจัดการตัวเอง” ซึ่งเป็นที่มา ชาย หญิง
ของโครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการดำเนินการขับเคลื่อนการศึกษา สพป.สฎ.เขต 1 90 1636 622 2258
ในรูปแบบ “จังหวัดจัดการตัวเอง” ซึ่งประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ สพป.สฎ.เขต 2 168 2710 1025 3735
1. การจัดทำฐานข้อมูลด้านการศึกษา สพป.สฎ.เขต 3 158 1692 522 2214
2. การพัฒนาเด็กด้อยโอกาส เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) สพม.เขต 11 46 375 127 502
3. การจัดทำโครงการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน (PLC) รร.ศึกษาสงเคราะห์สุราษฎร์ธานี 1 64 21 85
4. การจัดทำหลักสูตรพุทธทาสศึกษา อบจ.สุราษฎร์ธานี 3 49 21 70
5. การศึกษาเพื่ออาชีพและการมีงานทำ
รวมทั้งสิ้น 466 6526 2338 8864
จากการสำรวจพบว่า เด็กบกพร่องทางการเรียนรู้ (Learning Disability : LD) เป็นส่วน องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสภาพปัญหาของเด็ก
หนึ่ง ของเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส มีประมาณร้อยละ 10 ของจำนวนเด็กในระบบการศึกษา ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ที่ยังต้องได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดูแล
ทั้งประเทศ (ข้อมูลจาก นพ. พงศ์เกษม ไข่มุกต์ รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข อย่างจริงจัง จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ปี 2554) โดยเด็กกลุ่มนี้มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ได้รับการดูแลเรื่องการศึกษาอย่างเหมาะสม และ การจัดการศึกษาพิเศษ การพัฒนาเด็กด้อยโอกาส (เด็กบกพร่องทางการเรียนรู้: LD) ซึ่งมี
ถูกต้องตามหลักวิชาการในสถานศึกษาที่มีความพร้อม มีครูที่ฝึกหัดมาด้านการศึกษาพิเศษ การทำงานในรูปแบบเครือข่าย โดยการเชิญคณะกรรมการจากทุกภาคส่วนเข้าร่วมประชุม
(Special Education) ดังนั้น การส่งเสริมให้สถานศึกษา ครอบครัว และชุมชนร่วมกันพัฒนาเด็ก เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการพัฒนาเด็กบกพร่องทางการเรียนรู้ในด้านต่างๆ และได้ดำเนินการ
เหล่านี้จึงเป็นเรื่องสำคัญ เพื่อให้เขาเติบโตใช้ชีวิตได้อย่างปกติและอยู่ร่วมกันในสังคมได้เหมือน มาจนถึงปัจจุบัน ในการดำเนินงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 จนถึงปัจจุบัน เครือข่ายได้มีการประชุมร่วม
เด็กทั่วไป จากข้อมูลการประชุมของเครือข่ายในการดำเนินโครงการที่ร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหา กันเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ในด้านต่างๆ
ของเด็กบกพร่องทางการเรียนรู้ (เด็ก LD) ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า 1) ขาดการดูแลเรื่อง ประกอบด้วย 1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการ
การจัดการศึกษาอย่างเหมาะสม และถูกต้องตามหลักวิชาในสถานศึกษาที่มีความพร้อม 2) ครูไม่มี เรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) 3) ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสุราษฎร์ธานี 4) สมัชชา
ความรู้ในเรื่องการคัดกรองเด็ก จึงคัดกรองได้ไม่แม่นยำ 3) ขาดครูผู้ดูแลเด็ก LD 4) จิตแพทย์มี การศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา ซึ่งเป็นข้าราชการเกษียณอายุราชการ)
น้อยไม่สามารถตรวจรับรองได้ทันเวลา 5) ผู้ปกครองไม่ยอมรับ 6) โรงเรียนไม่ให้ความสนใจ 5) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 เขต 2 เขต 3 และสำนักงาน
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61