Page 31 - kpi20109
P. 31
0 1
เทศบาลเมืองแม่เหียะ มีวิสัยทัศน์ในการดำเนินงานที่เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลางในการ โดยออกเป็นระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินของ
ทำงาน โดยกำหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ประชาชนมีสุขทั่วหน้า พัฒนาอย่างยั่งยืน บนพื้นฐาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2550 และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งมุ่งเน้นการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนอย่างรวดเร็ว ฉับไว โปร่งใส นำไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดเก็บภาษีให้ถูกต้อง และเป็นธรรมต่อเจ้าของทรัพย์สินอย่างมี
และตรวจสอบได้ และให้ประชาชนได้รับการบริการสาธารณะอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน และอยู่ ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามที่ผ่านมา การจัดทำฐานข้อมูลต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยนำหลักการทำงาน 3 ร่วม คือ วัด บ้าน และเทศบาล เข้าบูรณาการ ยังขาดความถูกต้องแม่นยำของข้อมูล และการนำใช้ข้อมูลยังไม่ครอบคลุมอย่างทั่วถึงและเพียงพอ
ทำงานตามหลักธรรมาภิบาล คือ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผลประโยชน์ ร่วมตรวจสอบ และประเมิน ซึ่งเกิดจากความหลากหลายของข้อมูลหรือการละเลยในการจัดทำฐานข้อมูลในด้านต่างๆ ที่จะใช้ใน
ความพึงพอใจ โดยเทศบาลเมืองแม่เหียะได้วางแนวทางการบริหารงานเพื่อมุ่งผลความสัมฤทธิ์ การวิเคราะห์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด
ของงานเชิงประจักษ์ ยึดโยงเครือข่ายทุกภาคส่วนมาเป็นพลังในการขับเคลื่อน และปฏิรูปงาน ด้วยเหตุนี้ เทศบาลเมืองแม่เหียะจึงเล็งเห็นความสำคัญของการจัดทำแผนที่ภาษีดังกล่าว
ท้องถิ่นแนวใหม่ที่ต้องบริหารงานภายใต้ความเสี่ยง และภายใต้กฎหมาย โดยยึดหลักที่ว่า “บริหาร และได้นำมาประยุกต์ใช้ต่อยอดในการดำเนินการในภารกิจอื่นๆ ของเทศบาล เช่น ด้าน
ให้ถูกใจ ใช้ระเบียบกฎหมายให้ถูกต้อง ให้สอดคล้องกับความคุ้มค่า โปร่งใส ประหยัด ในทุก การสาธารณสุข ด้านสวัสดิการสังคม ด้านการศึกษา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการป้องกันและ
มิติ” ไม่ว่าจะเป็นด้านการบริหารงานบุคคล บริหารงานงบประมาณ และการบริหารงานภารกิจ
ท้องถิ่นให้เกิดผลสำเร็จ บรรเทาสาธารณะภัยในพื้นที่เทศบาลเมืองแม่เหียะ เป็นต้น เพื่อพัฒนาเทศบาลเมืองแม่เหียะให้มี
การดำเนินการแบบ Smart City
เทศบาลเมืองแม่เหียะมีรูปแบบวิธีการในการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการจัดทำฐานข้อมูลนั้นเทศบาลเมืองแม่เหียะได้กำหนดมาตรฐานคุณสมบัติของข้อมูล
โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเทศบาลเมืองแม่เหียะได้เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ไว้ว่า ข้อมูลที่จะถูกเก็บไว้ในระบบเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาท้องถิ่นจะต้อง
ในการแก้ไขปัญหาของชุมชนตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ โดยที่เทศบาลฯ จัดให้มีช่องทาง มีคุณสมบัติ 5 ประการ ดังนี้ 1) ถูกต้องแม่นยำ 2) ทันสมัย 3) สมบูรณ์ครบถ้วน 4) กะทัดรัด
การเข้าถึงข้อมูลที่หลากหลาย การรับฟังปัญหาจากเวทีถกปัญหาประจำเดือนของประชาชน 5) ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ 6) ต่อเนื่อง
สร้างกลุ่มอาสาสมัครในภารกิจงานต่างๆ เพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานของ
เทศบาลเมืองแม่เหียะทุกขั้นตอน การดำเนินโครงการจัดทำฐานข้อมูลของเทศบาลเมืองแม่เหียะ ได้เปิดโอกาสให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจดำเนินโครงการ โดยเชิญองค์กรต่างๆ เข้ามาร่วมใน
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ
ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนของเทศบาลเมืองแม่เหียะ ได้แก่ การประชุมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ได้แก่ ตัวแทนจากที่ว่าการอำเภอเมืองเชียงใหม่ ผู้แทน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กำนันผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 40 คน, สมาชิกสภาเทศบาล จำนวน
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม 16 คน ผู้แทนประชาคม จำนวน 10 คน คณะกรรมการชุมชน จำนวน 25 คน องค์กรสตรี
สืบเนื่องจากการดำเนินงานตามนโยบายที่กระทรวงมหาดไทยสั่งการให้เทศบาลดำเนินการ จำนวน 10 คน อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน (อสม.) จำนวน 10 คน อาสาสมัครพัฒนาสังคม
จัดทำแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน เพื่อเป็นเครืองมือในการจัดเก็บรายได้ และใช้เร่งรัดภาษี และความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) จำนวน 10 คน ผู้ประกอบการภาคเอกชน รวมทั้งสิ้นจำนวน
แต่ด้วยความยุ่งยากของขั้นตอนการทำภาษีในขณะนั้น ทำให้การดำเนินงานเรื่องการจัดทำแผนที่ 120 คน เพื่อร่วมตัดสินใจ และพิจารณาความสำคัญของการดำเนินโครงการ รวมไปถึง
ภาษีไม่ประสบความสำเร็จ จนกระทั้งมีการพัฒนารูปแบบและแนวทางในการจัดทำแผนที่ภาษี ร่วมกำหนดขอบเขต รูปแบบ และวิธีการในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูล อีกทั้งยังให้มีการคัดเลือก
มาจนถึงปี พ.ศ. 2550 กระทรวงมหาดไทยได้ปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงานการจัดทำแผนที่ ตัวแทนองค์กรร่วมเป็นคณะทำงานในขั้นตอนต่างๆ ในการจัดทำฐานข้อมูลฯ โดยจะ
และทะเบียนทรัพย์สินให้มีความชัดเจนและสะดวกต่อการนำไปใช้ในการดำเนินการมากยิ่งขึ้น มอบหมายให้องค์กรต่างๆ ที่เข้ามามีส่วนร่วมนั้นมีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามความถนัด
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61