Page 34 - kpi20109
P. 34

2


        ของประเภทองค์กรหรือกลุ่มต่างๆ  แล้วนำส่งข้อมูลคืนให้กับเทศบาลเพื่อวิเคราะห์และจัดทำเป็น  ที่มีปริมาณมากและต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก็ไม่อาจจะดำเนินไปได้จนสำเร็จ
        ฐานข้อมูลฯ ต่อไป โดยใช้โปรแกรม Ltax3000 LtaxGISQGIS โดยมีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบของ   ด้วยจำนวนบุคลากรที่มีอยู่อย่างจำกัดไม่อาจจะดำเนินการดังกล่าวให้ประสบความสำเร็จหากขาด
        เทศบาลทั้งหมด 7 กอง ที่เป็นหน่วยงานจัดเก็บและนำใช้ข้อมูลในด้านต่างๆ                   ความร่วมมือจากประชาชน


              จากการมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ทำให้การทำงานของเทศบาล                โครงการศูนย์สร้างสุข ภายใต้กิจกรรมคู่ซี้สุขภาพ
        เมืองแม่เหียะเร็วขึ้นในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเป็นข้อมูลที่แม่นยำ เนื่องจากข้อมูลต่างๆ      โครงการศูนย์สร้างสุข ภายใต้กิจกรรมคู่ซี้สุขภาพ เป็นโครงการต่อยอดจากโครงการ
        ถูกเก็บโดยประชาชนในพื้นที่ ซึ่งผลลัพธ์จากการเก็บข้อมูลมาจัดทำเป็นฐานข้อมูลเพื่อใช้ในการ  ศูนย์สร้างสุขที่ได้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2559 ซึ่งหลังจากที่ได้ก่อตั้งศูนย์สร้างสุขแล้วนั้น
        บริหารงานของเทศบาลเมืองแม่เหียะแล้วนั้น หน่วยงานอื่นยังสามารถมาขอใช้ข้อมูลเพื่อนำไป   ได้มีการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลด้านสาธารณสุขของประชาชนทั้ง 10 หมู่บ้าน ซึ่งดำเนินการสำรวจ
        วิเคราะห์และใช้ประโยชน์ในด้านอื่นต่อไปอีกด้วย เช่น                                    โดยทีมหมอครอบครัวที่ประกอบด้วยแกนนำชุมชน อสม. อพม. และกำนันผู้ใหญ่บ้าน พบว่ามี


              1.  ฝ่ายปกครอง นำข้อมูลไปใช้วางแผนในการป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยใน        ผู้ป่วยและผู้ที่ต้องได้รับการฟื้นฟูมากกว่า 30 ราย ที่ยังประสบปัญหาการเข้าถึงสถานที่
        พื้นที่หมู่บ้าน ตำบล                                                                  ให้บริการของเทศบาลเมืองแม่เหียะที่ยากลำบากเนื่องจากการเดินทางที่ไม่สะดวก และต้องรับ
                                                                                              ค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง เทศบาลเมืองแม่เหียะจึงได้ร่วมกับภาคีเครือข่ายในการวิเคราะห์ข้อมูล
              2.  สมาชิกสภาเทศบาล สามารถนำข้อมูลไปประกอบการพิจารณาจัดทำข้อบัญญัติตำบล
                                                                                              ที่ได้ในการระบุถึงปัญหาและหาทางแก้ไข เริ่มจากการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและ
              3.  หน่วยงานราชการต่างๆ ในพื้นที่สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนงานตามภารกิจ     ผู้พิการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อเสริมสร้างให้สังคมผู้สูงอายุเป็นสังคมที่มีคุณภาพชีวิต
        หน้าที่ของแต่ละหน่วยงาน  โดยบูรณาการร่วมกับเทศบาลเมืองแม่เหียะ                        ที่ดีขึ้นและฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการโดยชุมชน  โดยการร่วมระดมสมองผ่านเวทีการประชุม
                                                                                              ปรึกษาหารือกำหนดแนวทางในการขับเคลื่อนเพื่อดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพจิตอาสา
              4.  หน่วยงานภาคเอกชน/หรือภาคธุรกิจ สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ด้าน        ด้านสาธารณสุขเพื่อดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ นำมาซึ่ง
        การลงทุนในพื้นที่เทศบาลเมืองแม่เหียะได้
                                                                                              การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลแม่เหียะในปี พ.ศ. 2559
              ซึ่งโครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาท้องถิ่นเป็นโครงการที่มีความแตกต่างจาก   ซึ่งใช้เป็นสถานที่รวมกลุ่มดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
        โครงการอื่นๆ ของการทำแผนที่ภาษีแบบปกติ เนื่องจากในการดำเนินการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาเป็น  ผู้สูงอายุและผู้พิการในตำบล
        ฐานข้อมูลนั้น เทศบาลเมืองแม่เหียะได้จัดเก็บข้อมูลที่มีความละเอียดมากขึ้น โดยแบ่งชุดข้อมูล   อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน (2560) ศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ

        ออกเป็น 12 ด้าน เช่น ด้านการพัฒนารายได้ ด้านการค้าการลงทุน ด้านการท่องเที่ยว ด้านผังเมือง   ตำบลแม่เหียะยังไม่สามารถตอบสนองการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
        ด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค เป็นต้น และจากการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาท้องถิ่น  ได้เพียงพอ มีขีดจำกัดในการรับผู้สูงอายุที่มาทำกิจกรรมฟื้นฟูสภาพ กายภาพบำบัด กิจกรรม
        เป็นผลสำเร็จแล้วก็ได้มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกว่า 10 แห่ง ในช่วง พ.ศ. 2560 – 2561      บำบัด ได้ไม่เกิน 10 รายต่อวัน และเปิดให้บริการได้เพียง 3 วันต่อสัปดาห์ ด้วยข้อจำกัดทางด้าน
        เข้ามาดูงานเกี่ยวกับการจัดทำระบบฐานข้อมูลฯ ที่เทศบาลเมืองแม่เหียะได้จัดทำขึ้น ซึ่งถือเป็น  สถานที่และบุคลากร ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการได้ ซึ่งการดูแลที่บ้านเป็น
        นวัตกรรมในการประยุกต์เอาโปรแกรมที่ใช้ในการจัดทำแผนที่ภาษีมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล    สิ่งจำเป็นสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังและเพื่อเชื่อมต่อช่องว่างการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย
        ที่กว้างและละเอียดมากขึ้น ซึ่งหากปราศจากความร่วมมือของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่  ระหว่างศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูฯ กับบ้าน จะต้องมีรูปแบบการดูแลที่ต่อเนื่องจากสถานบริการ

        เทศบาลเมืองแม่เหียะแล้วนั้น การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความละเอียด และยังเป็นข้อมูล
                                                                                              เชื่อมโยงถึงชุมชน โดยอาศัยกลยุทธ์การมีส่วนร่วมจากผู้ที่เกี่ยวข้อง


        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39