Page 318 - kpi20109
P. 318

16                                                                                                                                                        1


        ได้พบจากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ คอลัมน์ชีวิตและสุขภาพ หัวข้อ “ออกกำลังกายในน้ำกับ       ร่างกายด้วยวิธีธาราบำบัด  รวมทั้งประสานงานข้อมูลข่าวสาร และบริการสาธารณสุขมูลฐาน
        ธาราบำบัด” เขียนโดย นายแพทย์สุรพงศ์ อำพันวงษ์โดยบังเอิญ จึงเกิดความสนใจ และเมื่อลอง   เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้ มีสุขภาพที่แข็งแรง  รวมทั้งสนับสนุนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
        ศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติมพบว่าสามารถนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ให้มีสุขภาพ  (EMS :  Emergency Medical Service)  ด้วยการจัดทีม เข้าช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้องต้น
        แข็งแรง และยังบำบัดรักษาโรคได้ จึงวางแผนการดำเนินงานภายในเทศบาลเมืองบ้านบึงก่อน       และนำส่งกรณีเร่งด่วน

        จากนั้นจึงหาเครือข่ายเข้ามาสนับสนุนในการสร้างศูนย์ธาราบำบัดเพื่อสุขภาพขึ้นในพื้นที่ของ      5.  คลีนิกนุชวรินทร์กายภาพบำบัด มีบทบาทหน้าที่ สนับสนุนบุคลากร เพื่อเป็นวิทยากร
        เทศบาลเมืองบ้านบึง                                                                    และผู้เชี่ยวชาญในการฝึกอบรม ทีมอาสาสมัครสาธารณสุข  เพื่อเป็นพี่เลี้ยงดูแลให้คำแนะนำการ

              กระบวนการดำเนินงานของเทศบาลเมืองบ้านบึงเริ่มจากการสำรวจจำนวนผู้ป่วยประเภท       ใช้กายอุปกรณ์ และบำบัดด้วยธาราบำบัด  นอกจากนี้ยังให้การสนับสนุนด้านวิชาการ การเชื่อมโยง
        โรคไม่ติดต่อ ได้แก่ กลุ่มโรคระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ กลุ่มโรคระบบประสาท และกลุ่มโรคการ  ข้อมูลของผู้ป่วย เพื่อให้ ผู้เข้ารับการบริการ ได้รับการบำบัดรักษาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพ
        หายใจและไหลเวียนเลือด ซึ่งพบว่าประชาชนในพื้นที่มีอาการภาวะกล้ามเนื้อ (Muscle strain)   สูงสุด

        เป็นอับดับ 1 รองลงมามีภาวะข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis knee) เป็นอับดับ 2 และลำดับสุดท้าย  6.  อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีจำนวน 186 คน และ
        ประชาชนในพื้นที่มีภาวะหมอนรองกระดูกสันหลังระดับเอวเสื่อม (Lumbar spondylosis) และ     ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน (ศสมช.) จำนวน 63 ชุมชน มีบทบาทในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของ
        โรคหลอดเลือดในสมอง เป็นอันดับที่ 3 จากนั้นจึงได้ดำเนินงานสร้างศูนย์ธาราบำบัดให้แล้วเสร็จ   ประชาชน ชี้เป้าหมาย และปฏิบัติการช่วยเหลือผู้สูงอายุ  ผู้พิการ ผู้ป่วยทั่วไป  ผู้ป่วยติดเตียง
        โดยอาศัยเครือข่ายในการดำเนินการสร้างศูนย์ธาราบำบัดขึ้น โดยมีเครือข่ายในการดำเนินงานดังนี้    ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุข และ ให้การสนับสนุนการดำเนินงานด้าน

              1.  เทศบาลเมืองบ้านบึง เป็นหน่วยงานหลักในการติดต่อประสานงาน รวมทั้งการจัดหา     สาธารณสุขแก่หน่วยงานในพื้นที่
        บุคลากรในการ ดูแลโครงการ/กิจกรรม ต่างๆ เพื่อส่งเสริมสุขภาพประชาชน และจัดหา                  7.  อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) มีบทบาทในการสำรวจ เก็บข้อมูลผู้สูงอายุ และดูแล
        นักกายบำบัด ผู้เชี่ยวชาญในการจัด กิจกรรมการส่งเสริมบำบัดฟื้นฟูธาราบำบัด รวมถึงอุปกรณ์  ช่วยเหลือทีมแพทย์/พยาบาลในการเยี่ยมบ้าน และประสานงานระหว่างผู้สูงอายุกับเครือข่าย

        กายภาพต่างๆ ในศูนย์ธาราบำบัด                                                          โดยการทำงานร่วมกันของเครือข่ายจะมีการประชุมซักซ้อม เพื่อวางแผน ระดมความคิดเห็น

              2.  องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี เป็นหน่วยงานหลักให้การสนับสนุนงบประมาณ             ศูนย์ธาราบำบัดเพื่อสุขภาพ ภายใต้การรับผิดชอบของกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
        ในการก่อสร้างอาคารศูนย์ธาราบำบัดและสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม ภายในพื้นที่ของเทศบาล     เทศบาลเมืองบ้านบึง ได้ดำเนินการแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2558 ภายในพื้นที่เทศบาลเมืองบ้านบึง
        เมืองบ้านบึง เพื่อความสะดวกแก่ประชาชนผู้มาใช้บริการ                                   โดยเปิดให้บริการวันจันทร์-พฤหัสบดี โดยแบ่งเป็นช่วงเวลาในการเข้าบำบัด วันละ 3 รอบ รอบละ

              3.  โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ มีบทบาทหน้าที่เป็นต้นแบบ   1 ชั่วโมง ทั้งนี้กระบวนการดำเนินงานเทศบาลนั้น มีการจัดจ้างนักกายภาพบำบัดจากภายนอก
        ของการดำเนินงานศูนย์ธาราบำบัด เป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนสถานที่ดูงานเกี่ยวกับ      เพื่อดูแลและบำบัดผู้มาใช้บริการ จำนวน 1 คน ซึ่งได้ผ่านการอบรมความรู้ในการดูแลสระ
        โครงการธาราบำบัด สนับสนุนงานวิชาการ เทคนิควิธีการดำเนินงานของสระธาราบำบัด ซึ่งเทศบาล  ธาราบำบัด เป็นผู้รับผิดชอบดูแลและตรวจวัดคุณภาพน้ำสระธาราบำบัดทุกวัน มีการเก็บค่าเข้า
        เมืองบ้านบึงได้นำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการดำเนินงานของศูนย์ธาราบำบัด เทศบาลเมืองบ้านบึง    ศูนย์ธาราบำบัดจำนวน 50 บาท (เฉพาะในเขตเทศบาลฯ) และ 100 บาท (นอกเขตเทศบาลฯ)

               4.  โรงพยาบาลบ้านบึง และศูนย์แพทย์ชุมชน เทศบาลเมืองบ้านบึง มีบทบาทในการ        มีสถานที่ภายในศูนย์ธาราบำบัด ได้แก่ ห้องน้ำชายและหญิง จำนวนทั้งหมด 6 ห้อง ห้องปกติ
        ตรวจคัดกรองและส่งต่อผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพจำเป็นต้องได้รับการรักษา บำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ  4 ห้อง และห้องสำหรับผู้พิการ 2 ห้อง บริการห้องอาบน้ำ ชายและหญิงทั้งหมดจำนวน
                                                                                              6 ห้อง และมีบริการล็อคเกอร์สำหรับผู้เข้าใช้บริการ จำนวน 4 ล็อกเกอร์ รวมถึง


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   313   314   315   316   317   318   319   320   321   322   323