Page 323 - kpi20109
P. 323

22                                                                                                                                                        2


        รั่วไหล เกิดเพลิงลุกไหม้  ประมาณ  3 ครั้ง ทำให้เทศบาลเมืองบ้านบึงตระหนักถึงการพัฒนา   เพื่อส่งต่อ ตลอดจนการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ดังกล่าวข้างต้นให้กับ
        บุคลากรที่สามารถฝึกอบรม รวมถึงให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องการบรรเทาสาธารณภัย ดังนั้น จึงได้  กลุ่มโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อนำไปวางแผน กำหนดใช้ในการประสานงานกับหน่วยงานและ
        สร้างกระบวนการสร้างภาคีเครือข่ายจากภายนอกเทศบาลเมืองบ้านบึง เพื่อให้ความรู้ และมี     เครือข่ายเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน
        บุคลากรที่ผ่านการอบรมครูฝึกป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  มีผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมการดับ          ในการระงับเหตุต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอัคคีภัย อุทกภัย ภัยทางถนน และภัยอื่นๆ ที่ส่ง

        เพลิงขั้นก้าวหน้า  และหลักสูตรการกู้ภัยจากสารเคมี  โดยเจ้าหน้าที่ร้อยละ 80 ผ่านการฝึกอบรม  ผลกระทบให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจะต้องมีเครือข่ายหน่วยกู้ชีพ กู้ภัย (1669) และ
        พนักงานดับเพลิงจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  ดังนั้น  เทศบาลจึงได้รับการร้องขอจาก
        องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียงไปเป็นวิทยากรประจำ  รวมทั้งเป็นหน่วยฝึกอบรมให้ความรู้  หน่วยกู้ภัยศีลธรรมสมาคมเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารการจัดการสาธารณภัยดังกล่าว เช่น
                                                                                              หน่วยกู้ชีพกู้ภัย (ร.พ.บ้านบึง) ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการเข้าช่วยเหลือและคัดกรอง พร้อมทั้งส่งต่อ
        ในการดับเพลิงเบื้องต้น  ให้กับสถานประกอบการ  ปีละไม่น้อยกว่า  60  แห่ง
                                                                                              ผู้ประสบภัยไปยังสถานพยาบาล โดยในปัจจุบันหน่วยกู้ชีพกู้ภัยของโรงพยาบาลบ้านบึง
              เทศบาลเมืองบ้านบึง  ตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย จึงได้  มีเครื่องมือที่เป็นรถกู้ชีพกู้ภัยพร้อมทั้งอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยจำนวน 4 คัน ตลอดจน

        ริเริ่มและเป็นเจ้าภาพหลักขับเคลื่อนโครงการความร่วมมือด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  มีการร่วมอบรมให้ความรู้ด้านวิชาการในด้านการปฐมพยาบาล การช่วยเหลือผู้ประสบภัย
        ประชารัฐร่วมใจท้องถิ่นเมืองบ้านบึงขึ้น จึงได้ริเริ่มโครงการ “ความร่วมมือภาคีเครือข่ายด้าน    ในเบื้องต้น รวมถึงได้มีการเข้าร่วมฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นประจำทุกปี
        การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประชารัฐร่วมใจท้องถิ่นเมืองบ้านบึง” ขึ้นเพื่อเชื่อมเครือข่ายด้าน  หน่วยกู้ภัยศีลธรรมสมาคม เป็นเครือข่ายที่มีจำนวนสมาชิกที่ครอบคลุมอยู่ในทุกพื้นที่ของ
        การป้องกันสาธารณภัยขึ้น การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  เดิมมีเครือข่ายที่ถือว่าเป็นหน้าที่     เขตอำเภอบ้านบึงและพื้นที่ใกล้เคียง ที่สามารถร่วมให้การสนับสนุนช่วยเหลือในการกู้ภัยและ
        ที่จะต้องร่วมปฏิบัติการ  เช่น อำเภอ ตำรวจ การไฟฟ้า การประปา โรงพยาบาล แขวงการทาง       เป็นเครือข่ายที่สนับสนุนด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้เป็นอย่างดียิ่ง เช่น จัดการ

        ซึ่งเป็นส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง  ต่อมาในปี พ.ศ. 2522  ได้มีพระราชบัญญัติป้องกัน  จราจรในพื้นที่เกิดเหตุ  การอำนวยความสะดวกเส้นทางไปสู่พื้นที่เกิดเหตุให้เกิดความสะดวก
        ภัยฝ่ายพลเรือนขึ้น  โดยกำหนดให้มีภาคประชาชนเข้ามาร่วมมือ  โดยจัดตั้งอาสาสมัครป้องกันภัย  รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ และเป็นกำลังสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยเผชิญเหตุในการเข้าระงับเหตุ
        ฝ่ายพลเรือนในแต่ละท้องถิ่นขึ้น  ประกอบด้วย
                                                                                              ตลอดจนเป็นเครือข่ายที่มีอุปกรณ์ในการกู้ภัยทางถนน เช่น อุปกรณ์ตัด-ถ่าง สำหรับช่วยเหลือ
              1.  เครือข่ายตามอำนาจหน้าที่ เช่น อำเภอ ตำรวจ การไฟฟ้า การประปา โรงพยาบาล       ผู้ประสบภัยทางถนนและสาธารณภัยอื่น ๆ เช่น กรณีที่เกิดอุบัติเหตุรถยนต์โดยสาร(รถตู้)
        แขวงการทาง  และฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่      ชนกับรถยนต์บรรทุกกระบะที่มีผู้เสียชีวิตจำนวน 25 ศพ และยังเป็นเครือข่ายที่ให้การสนับสนุน

                                                                                              ในการนำส่งผู้ประสบภัยที่ได้รับการบาดเจ็บนำส่งสถานพยาบาลร่วมกับโรงพยาบาลบ้านบึง
              2.  เครือข่ายภาคประชาชนและเอกชน  เช่น  อปพร.  ตำรวจชุมชน  คณะกรรมการชุมชน
        หน่วยกู้ภัย กลุ่มนิคมอุตสาหกรรม  บริษัท  ห้างร้าน                                     ซึ่งปัจจุบันหน่วยกู้ภัยศีลธรรมสมาคม มีรถยนต์หลักสำหรับการกู้ชีพกู้ภัย จำนวน 3 คัน มีรถยนต์
                                                                                              สนับสนุนที่เกิดเหตุจำนวน 328 คัน  มีสมาชิกกู้ภัยจำนวน 985 คน ถือเป็นอีกเครือข่ายที่มีการฝึก
              การระงับเหตุอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม และในอาคารบ้านเรือนของประชาชนในพื้นที่   แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกันเป็นประจำทุกปี
        ที่รับผิดชอบ และตามที่หน่วยงานร้องขอ โดยจะมีหน่วยงานหลักและเครือข่ายต่างๆ เข้ามาระงับ
                                                                                                    สถานประกอบการ เป็นเครือข่ายที่ดูแลรับผิดชอบความปลอดภัยในพื้นที่สถานประกอบ
        เหตุ ซึ่งหน่วยงานและเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวจะมีการซักซ้อม การอบรมเพื่อให้รู้  การของตนเอง โดยมีเทศบาลเมืองบ้านบึงเข้าไปมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุน
        ถึงบทบาทหน้าที่ของตนเอง เช่นหน่วยเข้าผจญเพลิง หน่วยสนับสนุนด้านจราจร หน่วยรักษา

        ความสงบเรียบร้อย หน่วยอพยพผู้ประสบภัยและทรัพย์สิน หน่วยปฐมพยาบาลและคัดกรอง            ให้สถานประกอบการต่าง ๆ ได้มีความรู้ ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายเมื่อมี
                                                                                              เหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้น เช่น ผู้อำนวยการดับเพลิง ซึ่งมีหน้าที่อำนวยการ สั่งการ ในการประสาน


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328