Page 359 - kpi20109
P. 359
5 5
เทศบาลตำบลก้อ เป็นเทศบาลขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแม่ปิง วิสัยทัศน์ของ อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการร่วมกัน โดยมีการกำหนดหน้าที่
เทศบาลคือ “อนุรักษ์ธรรมชาติ ส่งเสริมการเกษตร เพิ่มพูนคุณภาพชีวิต ตามหลักปรัชญา ความรับผิดชอบแต่ละฝ่ายอย่างชัดเจน ในตัวแบบนี้เทศบาลจะมีบทบาทเป็นผู้ประสานการปฏิบัติ
เศรษฐกิจพอเพียง” มีแนวคิดการบริหารงานที่มุ่งเน้นประเด็นสวัสดิการและคุณภาพชีวิตใน งานของเครือข่าย (integrator) เพื่อช่วยให้เครือข่ายขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้อง
ประชาชนในพื้นที่เป็นหลัก กับเป้าหมายร่วม
พื้นที่บริหารงานของเทศบาลตำบลก้อมีประมาณ 532 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 4 ชุมชน รูปแบบการร่วมมือกับเครือข่ายของเทศบาลประกอบด้วย 1) การร่วมมืออย่างเป็นทางการ
มีประชากรทั้งสิ้นประมาณ 2,500 คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและประมงพื้นบ้านเป็นส่วนใหญ่ โดยมีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ที่ถือเป็นพันธสัญญาที่บังคับใช้ร่วมกันในหมู่
เครือข่าย และ 2) การร่วมมือกันอย่างไม่เป็นทางการ ภายใต้โครงการร่วมต่างๆ การร่วมมือ
ในการบริหารงานด้านการเสริมสร้างเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม
ผู้บริหารของเทศบาลได้กำหนดทิศทางการบริหารงานโดยยึดหลักการประสานและเชื่อมโยงกลุ่มคน รูปแบบนี้จะไม่มีการจัดทำ MOU ร่วมกัน จะมีเพียงการสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ ในหมู่เครือข่าย
องค์กร หรือหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกพื้นที่ ให้เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่าย เช่น ส่งบุคลากรเข้าร่วมดำเนินกิจกรรม สนับสนุนเครื่องมือเครื่องใช้ รวมถึงร่วมแลกเปลี่ยน
ความรู้ทางวิชาการ เทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
เพื่อริเริ่มความร่วมมือ การตัดสินใจ และร่วมดำเนินงานเพื่อท้องถิ่น บนฐานความสัมพันธ์แบบ
ร่วมมือกัน แบ่งงานกันทำตามความถนัด แลกเปลี่ยนทรัพยากร เทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสาร หน่วยงานที่เข้ามาเป็นเครือข่ายของเทศบาลตำบลก้อในปัจจุบัน ได้แก่ หน่วยงานราชการ
ซึ่งกันและกัน และกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบภายในเครือข่ายกันอย่างชัดเจน เพื่อให้บรรลุ หน่วยงานเอกชน องค์กรภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งในพื้นที่ใกล้เคียงและ
วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพร่วมกัน พื้นที่อื่นๆ
ตัวแบบ (model) การบริหารงานเครือข่ายที่เทศบาลตำบลก้อนำมาใช้ ประกอบด้วย สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศด้านการเสริมสร้าง
3 ตัวแบบ ได้แก่ เครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคม ของเทศบาลตำบลก้อ ได้แก่
1. การบริหารงานระบบเครือข่ายการด้วยการปรึกษาหารือ (consultative model) ศูนย์พญ๋า (โครงการส่งเสริมอาชีพภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป็นตัวแบบที่เปิดโอกาสให้ประชาชน หน่วยงานภายนอก หรือองค์กรเอกชน เข้ามาสะท้อน สู่เศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืน บนความพอเพียง)
ความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะต่อการจัดการปัญหาของท้องถิ่น โดยเทศบาลจะรวบรวมความ โครงการนี้มีที่มาจากความต้องการแก้ปัญหาความไม่มั่นคงของสิทธิในที่ดินทำกินและ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะดังกล่าวไปจัดทำเป็นแผนชุมชนและแผนการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป
ที่อยู่อาศัย ปัญหาหนี้สินสะสมจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม และปัญหาความเสื่อมโทรมของ
2. การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาสังคมด้วยการกระจายอำนาจ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่และสภาวะทางเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่
(decentralized model) ตัวแบบนี้สนับสนุนให้ภาคประชาชนรวมตัวกันเพื่อจัดการกับปัญหา อย่างต่อเนื่อง
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยตัวเอง โดยทางเทศบาลจะทำหน้าที่เป็นผู้อำนวยความสะดวก ผู้ที่ริเริ่มแก้ปัญหาเหล่านี้ คือ กลุ่มหญิงชาวบ้านในตำบลก้อที่รวมตัวกันเป็นกลุ่มวิสาหกิจ
(facilitator) รวมถึงกระตุ้นและจูงใจให้ภาคประชาชนดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
ชุมชน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทอผ้า กลุ่มปลาย่างรมควัน กลุ่มแปรรูปผลไม้ และกลุ่มตัดเย็บผ้าบาติก
3. การบริหารงานระบบเครือข่ายร่วมปฏิบัติการ (collaborative model) เป็นตัวแบบ โดยทางกลุ่มได้เสนอให้ฟื้นวิถีการปลูกฝ้ายและการผลิตผลิตภัณฑ์จากฝ้าย ที่แต่เดิมเคยเป็น
ที่อาศัยความร่วมมือจากเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนให้เข้ามาทำงานร่วมกัน วิถีเกษตรกรรมและหัตถกรรมหลักของชุมชนตำบลก้อ ขึ้นมาใหม่
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61