Page 362 - kpi20109
P. 362
60 61
ในขั้นตอนนี้เอง ที่เทศบาลตำบลก้อได้เข้ามาวางแผนร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนนำไป 6. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลี้ สำนักงานแรงงาน
ก่อตั้งศูนย์กลางพัฒนาอาชีพในนาม “ศูนย์พญ๋า” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์จัดจำหน่ายสินค้า จังหวัดลำพูน ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
ที่ผลิตโดยกลุ่มอาชีพต่าง ๆ และเพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านอาชีพและส่งเสริมให้ครัวเรือน บรมราชินีนาถ จังหวัดลำพูน และสำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ ทำหน้าที่จัด
มีการรวมกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และก่อให้เกิดรายได้ ฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะของกลุ่มอาชีพ ในด้านการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์โดยใช้
อย่างต่อเนื่อง รวมถึงพัฒนาทักษะ ความรู้ และความสามารถด้านการผลิต การตลาด และ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมเป็นฐาน และคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ส่งเสริมให้ผลิต
การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อก้าวไปสู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชนต่อไป ผลิตภัณฑ์โดยใช้สีฝ้ายตามธรรมชาติและใช้ฝ้ายอินทรีย์
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ เทศบาลตำบลก้อจึงได้ประสาน 7. เทศบาลตำบลวังดิน สนับสนุนวิทยากรให้ความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพและการพัฒนา
เครือข่ายภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน ทั้งภายในและภายนอกพื้นที่เข้ามาร่วมดำเนินการ ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งจัดหาช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าผ่านตลาดประชารัฐของเทศบาล
ในด้านต่าง ๆ โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบหลัก ดังต่อไปนี้
8. อุทยานแห่งชาติแม่ปิง สนับสนุนช่องทางการจำหน่ายสินค้า โดยจัดจุดจำหน่ายบริเวณ
1. เทศบาลตำบลก้อ ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางประสานงานเครือข่าย ให้เข้ามาประชุม น้ำตกก้อหลวง แก่งก้อ และจุดประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เสนอแนะ บริหารกิจกรรม และวางระบบงาน รวมทั้งสนับสนุนงานธุรการ การดำเนินโครงการนี้ มีผลให้สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของชุมชนในเขตเทศบาลตำบล
และงบประมาณในการจัดฝึกอบรม และเป็นทุนดำเนินการในรูปกองทุนหมุนเวียน
ก้อเปลี่ยนแปลงไปในทางบวก โดยพิจารณาได้จากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่นำมา
2. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้าผู้สูงอายุบ้านก้อทุ่งและวิสาหกิจชุมชนตำบลก้อ ทำหน้าที่ ร่วมโครงการ อาทิ ผ้าถุงที่แต่เดิมราคาผืนละ 1,500 บาท เมื่อนำมาร่วมโครงการและเปลี่ยน
บริหารงานศูนย์ โดยมีเทศบาลตำบลก้อสนับสนุนงบประมาณ ให้คำแนะนำ และตรวจสอบ วัตถุดิบในการผลิตเป็นฝ้ายธรรมชาติ ก็ทำให้ราคาเพิ่มขึ้นเป็นผืนละ 4,500 บาท เป็นต้น
ความถูกต้องในการดำเนินงาน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลมาทำหน้าที่ เมื่อมูลค่าผลิตภัณฑ์สูงขึ้น ก็ส่งผลให้รายได้ของผู้คนในชุมชนที่ได้รับจากการขายสูงขึ้นตามไปด้วย
ตรวจสอบบัญชีรายรับรายจ่าย โดยทางเทศบาลได้ให้ข้อมูลว่า สมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีรายได้เพิ่มจาก 100 บาทต่อวัน
เป็น 150 บาทต่อวัน ส่วนรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนก็มีมากกว่ารายจ่ายอยู่ร้อยละ 9.17 นอกจากนั้น
3. สำนักงานเกษตรอำเภอลี้ ทำหน้าที่รับจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนให้แก่กลุ่มอาชีพ
ที่เข้าร่วมโครงการ โครงการนี้ยังส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่มีอาชีพเพิ่มขึ้นและสามารถพึ่งพาคนเองทางเศรษฐกิจได้
4. สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอลี้ ทำหน้าที่พิจารณากลไกตลาด แนะนำช่องทาง
การจำหน่าย การส่งเสริมอาชีพ และเป็นที่ปรึกษา
5. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ และมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จัดทำ MOU
ร่วมกับเทศบาลตำบลก้อ เพื่อทำหน้าที่จัดอบรมให้ความรู้ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ ช่วยเหลือ
ด้านการพัฒนาการผลิตดของกลุ่มอาชีพ ส่งเสริมด้านการตลาด เงินทุน และการพัฒนาผลิตภัณฑ์
รวมทั้งอำนวยความสะดวกด้านการจัดส่งสินค้า และการเชื่อมโยงองค์ความรู้ ดังที่ปรากฏออกมา
ในรูปของการออกแบบผลิตภัณฑ์จากฝ้าย และการสร้างตราสินค้า “ภูก้อ”
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61