Page 369 - kpi20109
P. 369

6                                                                                                                                                         6


              เทศบาลตำบลป่าสัก ตั้งอยู่ในจังหวัดลำพูนเมืองเก่าที่มีอายุยาวนานกว่า 1,300 ปี ปัจจุบัน  ในพื้นที่เพื่อผนึกกำลังในการดำเนินงาน ได้แก่ คณะกรรมการเครือข่ายป่าชุมชนและสิ่งแวดล้อม
        บริบทในพื้นที่มีลักษณะเป็นสังคมกึ่งเมืองกึ่งชนบท มีความเติบโตของเมือง แต่ประชาชนส่วนใหญ่  ซึ่งมีตัวแทนจาก 6 หมู่บ้าน, บริษัท สหโคเจน กรีน จำกัด, บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์ โฮลดิ้ง จำกัด
        ยังประกอบอาชีพเกษตรกรรม และยังคงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดต่อกันมา พื้นที่  (มหาชน), โรงเรียนวัดน้ำพุ, โรงเรียนวัดห้วยม้าโก้ง, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
        ส่วนหนึ่งเป็นที่ตั้งของบริษัทสหพัฒนา อินเตอร์โฮลดิ้ง  จำกัด (มหาชน) ส่งผลให้มีประชากร     (ธกส.), สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำพูน, สำนักงานป้องกันและบรรเทา

        แฝงเข้ามาทำงานในพื้นที่จำนวนมาก ด้วยบริบทพื้นที่เช่นนี้ เทศบาลตำบลป่าสักจึงกำหนด      สาธารณภัยจังหวัดลำพูน, สำนักงานป่าไม้จังหวัดลำพูน ศูนย์ส่งเสริมวนศาสตร์ชุมชนที่ 1
        เป้าหมายในการพัฒนาตำบลป่าสักสู่การเป็นสามเมืองที่โดดเด่น คือ “เมืองแห่งการท่องเที่ยว    (เชียงใหม่) และองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน
        เชิงวัฒนธรรมและประเพณี”  “เมืองแห่งการเกษตรปลอดภัย” และ “เมืองอุตสาหกรรมที่เป็น             เทศบาลตำบลป่าสักและภาคีเครือข่ายร่วมกันดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า
        มิตรกับสิ่งแวดล้อม” และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว เทศบาลตำบลป่าสักจึงกำหนดวิสัยทัศน์  ไฟไหม้ป่า การลักลอบทิ้งขยะ และความแห้ง โดยดำเนินกิจกรรม 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรม
        ในการบริหารงานไว้ว่า “ยึดหลักธรรมาภิบาล ประสานความร่วมมือ บูรณาการสู่การพัฒนาอย่าง    สร้างความรู้ ความเข้าใจ 2) กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันไฟป่าและการลักลอบทำลายป่า

        ยั่งยืน” การประสานความร่วมมือของเทศบาลตำบลป่าสักตามวิสัยทัศน์ที่ได้ประกาศไว้ นอกจาก   3) กิจกรรมการเพิ่มพื้นที่สีเขียว 4) กิจกรรมการเพิ่มสถานที่กักเก็บน้ำและเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับ
        การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนแล้ว เทศบาลตำบลป่าสักยังมุ่งเน้นการเสริมสร้างภาคี
        เครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมที่มีอยู่ในพื้นที่ ส่งผลให้ในปัจจุบันเทศบาลตำบล     ผืนป่า และ 5) กิจกรรมการวางแผนและการจัดทำแผนงาน/โครงการ ทั้งนี้ ในแต่ละกิจกรรม
                                                                                              ภาคีเครือข่ายได้เข้ามามีบทบาท ช่วยหนุนเสริม และแบ่งปันทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงาน โดยมี
        ป่าสักมีเครือข่ายที่มีความเข้มแข็งหลายเครือข่าย แต่เครือข่ายที่มีความโดดเด่น คือ เครือข่าย    รายละเอียด ดังนี้
        ป่าชุมชน เครือข่ายการบริหารจัดการขยะ และเครือข่ายการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน
                                                                                              4กิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ
              สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้าง
        เครือข่ายภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม ของเทศบาลตำบลป่าสัก ได้แก่                              กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลป่าสัก ร่วมกับสำนักงานป้องกันและบรรเทา
                                                                                              สาธารณภัยจังหวัดลำพูน สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำพูน ได้ร่วมกัน
        โครงการรักษ์ป่า รักษ์สิ่งแวดล้อม
                                                                                              จัดการอบรมเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
              เขตเทศบาลตำบลป่าสักมีป่าชุมชนครอบคลุมพื้นที่ 6 หมู่บ้าน ที่ผ่านมาเกิดปัญหา      ให้แก่คนในชุมชน รวมทั้งศูนย์ส่งเสริมวนศาสตร์ชุมชนที่ 1 (เชียงใหม่) ได้สนับสนุนการจัดอบรม
        การบุกรุกพื้นที่ป่า ไฟไหม้ป่าโดยภัยธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์ การแอบลักลอบทิ้งขยะ    แกนนำตำบลในการดูแลต้นไม้ในเขตเมือง
        ในพื้นที่ป่า และความแห้งแล้ง เมื่อทบทวนสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น วิเคราะห์หาสาเหตุและวิธีการ
        แก้ไขปัญหา เทศบาลตำบลป่าสักจึงตระหนักว่า เทศบาลไม่สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ด้วย    4กิจกรรมการปลูกจิตสำนึก

        ตนเองเพียงหน่วยงานเดียว เช่น ไม่สามารถเฝ้าระวังสอดส่องดูแลพื้นที่ป่าให้ครอบคลุมพื้นที่      เทศบาลตำบลป่าสัก องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน เครือข่ายป่าชุมชนและสิ่งแวดล้อม
        ทั้งหมดได้ตลอด 24 ชั่วโมง อัตรากำลังคนในการเข้าไปดับไฟป่าหรือการทำฝาย/ปลูกป่าเพื่อเพิ่ม  ตำบลป่าสัก โรงเรียนวัดน้ำพุและโรงเรียนวัดห้วยม้าโก้ง ร่วมกันสร้างจิตสำนึกในการพัฒนาและ
        พื้นที่ชุ่มชื่นไม่เพียงพอ การดำเนินการเข้าไปดับไฟป่าไม่ทันท่วงที และวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ     อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้แก่คนในชุมชนทุกช่วงวัย โดยในส่วนของโรงเรียน
        เครื่องใช้มีไม่เพียงพอ เช่น รถดับเพลิง และเครื่องมือที่ใช้ในการดับไฟป่าและการทำฝาย เป็นต้น    ได้บรรจุเรื่องการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้ในแผนการเรียน

                                                                                              การสอนของนักเรียน และในส่วนของผู้นำชุมชนในพื้นที่ตำบลป่าสัก เน้นการประชาสัมพันธ์
              ชุมชนเริ่มต้นเข้ามาดูแลป่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 เป็นต้นมา หลังจากนั้นเทศบาลตำบลป่าสัก
        ได้เข้ามาดำเนินการโดยได้ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม   เสียงตามสายเพื่อขอความร่วมมือและสร้างจิตสำนึกในการเฝ้าระวังพื้นที่ป่าชุมชน


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   364   365   366   367   368   369   370   371   372   373   374