Page 372 - kpi20109
P. 372

0                                                                                                                                                         1


        4กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันไฟป่าและการลักลอบทำลายป่า                                     ภาคีเครือข่ายได้มีการตั้งกฎระเบียบป่าชุมชนตำบลป่าสัก เพื่อเป็นข้อตกลงระหว่าง
                                                                                              เครือข่ายป่าชุมชนตำบลป่าสักและผู้ใช้ประโยชน์จากป่า ซึ่งหากมีผู้ฝ่าฝืนจะมีบทลงโทษตาม
              คณะกรรมการเครือข่ายป่าชุมชนและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลป่าสัก และหน่วยพิทักษ์

        และป้องกันไฟป่า ที่ 1 เชียงใหม่ ได้ร่วมกันวางแผนการป้องกันและเฝ้าระวังไฟป่าและการลักลอบ  กฎระเบียบ นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดปฏิญญาป่าสัก ระหว่าง เทศบาลตำบลป่าสัก เครือข่าย
                                                                                              ป่าชุมชนตำบลป่าสัก  ศูนย์ศึกษาและพัฒนาวนศาสตร์ชุมชนที่ 1 (เชียงใหม่) และบริษัท
        ทำลายป่า โดยมีการประสานงานกับเครือข่ายป่าชุมชนครอบคลุมทั้งตำบลป่าสัก อีกทั้งสำนักงาน     สหโคเจน กรีน จำกัด ในการร่วมกันดูแลป้องกัน รักษาฟื้นฟูและจัดการทรัพยากรป่าไม้และ
        ป่าไม้จังหวัดลำพูน สนับสนุนเครื่องเป่าสำหรับจัดทำแนวกันไฟป่าและงบประมาณในการป้องกัน     สิ่งแวดล้อมในพื้นที่รับผิดชอบของแต่ละหมู่บ้าน โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ป่าชุมชน
        ไฟป่า จำนวน 50,000 บาท
                                                                                                    ผลการดำเนินงานที่ปรากฏเป็นรูปธรรม กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2561 มีไฟป่าเกิดขึ้นเพียง
        4กิจกรรมการเพิ่มพื้นที่สีเขียว
                                                                                              3 ครั้ง บนพื้นที่ 480 ไร่ ลดลงจากปี พ.ศ. 2560 ที่เกิดไฟป่ามากถึง 13 ครั้ง บนพื้นที่ 5,400 ไร่
                สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลำพูน สำนักงานป่าไม้จังหวัด      จำนวนครั้งของการเกิดไฟไหม้ป่าลดลง คิดเป็นร้อยละ 76.92 และพื้นที่ความเสียหายลดลง

        ลำพูน และเครือข่ายป่าชุมชนและสิ่งแวดล้อมตำบลป่าสัก ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมปลูกป่าเพื่อเพิ่ม  จำนวน 4,920 ไร่ นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2561  สามารถสร้างฝายชะลอน้ำได้ จำนวน 45 แห่ง
        พื้นที่สีเขียวในพื้นที่ตำบลป่าสัก ทั้งนี้เพื่อเป็นการกระจายความชุ่มชื้นให้กับผืนป่า และเติมเต็ม  รวมความจุน้ำได้ปริมาณ 3,840 ลบ.ม. และมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นอีก 25ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ
        ความอุดมสมบูรณ์ให้กับธรรมชาติ                                                         0.19 ทั้งนี้ การดูแลรักษาป่าทำให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติและความหลากหลาย
                                                                                              ทางชีวภาพ ส่งผลให้ป่าเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของชุมชนได้ต่อไป
        4กิจกรรมการเพิ่มสถานที่กักเก็บน้ำและเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับผืนป่า
                                                                                              การบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรในชุมชน
              ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำฝาย
        จำนวน 155,000 บาท บริษัทสหโคเจน กรีน จำกัด จัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือในการจัดกิจกรรม        เทศบาลตำบลป่าสัก มีประชากรในพื้นที่ 14,005 คน จากครัวเรือนทั้งหมด
        การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ และสนับสนุนงบประมาณในการนำเครือข่ายป่าชุมชนไปศึกษาดูงาน        6,980 ครัวเรือน และในพื้นที่ยังเป็นที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรม มากถึง 70 โรงงาน จากสถิติ
        ป่าชุมชนต้นแบบ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในพื้นที่ ขณะที่ ชุมชนเป็นกำลังหลักในการช่วยพัฒนาและ  พบว่า ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องทุกปี ในปี พ.ศ. 2560 มีปริมาณขยะสะสม
        อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยนอกจากเป็นเครือข่ายในการเฝ้าระวังแล้วยังมี  จำนวน 2,278 ตันต่อปี หรือ 6.32 ตันต่อวัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับจำนวนประชากร พบว่า
        ส่วนร่วมในการดำเนินการต่างๆ เช่น กลุ่มแม่บ้านช่วยจัดทำอาหารสำหรับเลี้ยงคณะทำงาน และ   ประชากรหนึ่งคนก่อให้เกิดขยะ เฉลี่ย 0.45 กิโลกรัมต่อวัน ซี่งในปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมา เทศบาล
        ชาวบ้านในเขตป่าชุมชนเป็นจิตอาสาในการพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่ป่าชุมชนในมีความอุดมสมบูรณ์   จำเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและกำจัดขยะ จำนวน 2,911,660 บาท แต่เดิม การจัดการ

                                                                                              ขยะภายในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลป่าสักยังไม่มีการจัดการที่เป็นระบบมากนัก มีการทิ้งขยะมูลฝอย
        4กิจกรรมการวางแผนและการจัดทำแผนงาน/โครงการ
                                                                                              ตามบริเวณต่างๆ ไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และใช้วิธีการกำจัดขยะด้วยการเผา ซึ่งก่อให้เกิด
              เทศบาลตำบลป่าสัก เครือข่ายป่าชุมชนและสิ่งแวดล้อมตำบลป่าสัก ฝ่ายป้องกันและรักษา  มลพิษตามมา
        ความสงบ เทศบาลตำบลป่าสัก และบริษัทสหโคเจน กรีน จำกัด ได้ร่วมกันวางแผนและจัดทำ               เทศบาลตำบลป่าสักริเริ่มแนวคิดการบริหารจัดการขยะให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
        แผนงาน/โครงการเพื่อใช้สำหรับปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงานด้านเครือข่าย รวมทั้งเสนอ

        แผนงาน/โครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนด้านต่างๆ ไปยังภาคีเครือข่าย                      โดยมุ่งเน้นการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจร คือ มีการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง และ
                                                                                              ปลายทาง แต่เทศบาลตำบลป่าสักก็ตระหนักดีว่า เทศบาลยังขาดองค์ความรู้ งบประมาณ และ



        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   367   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377