Page 375 - kpi20109
P. 375

5


              การบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรและอาศัยเครือข่ายหนุนเสริมในการดำเนินงานส่งผล             ภาคีเครือข่ายต่างมีบทบาทสำคัญในการหนุนเสริม เติมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน ในการ
        ให้ในปี พ.ศ. 2561 เขตพื้นที่เทศบาลตำบลป่าสักมีปริมาณขยะสะสม 1,750 ตันต่อปี หรือ       ดำเนินงานโดยมีการแบ่งปันทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินงาน ทั้งในด้านองค์ความรู้ งบประมาณ
        4.86 ตันต่อวัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับจำนวนประชากร พบว่า ประชากรหนึ่งคนก่อให้เกิด  และกำลังคน ยกตัวอย่างการดำเนินงานเพื่อสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนสำหรับกลุ่มเด็กเล็ก
        ขยะ เฉลี่ย 0.11 กิโลกรัมต่อวัน เทศบาลตำบลป่าสักเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บขนและกำจัดขยะ     ได้ ดังนี้

        เป็น จำนวน 2,240,077 บาท หากเปรียบเทียบกับสถิติในปี พ.ศ. 2560 พบว่า ปริมาณขยะต่อคน          4 การสนับสนุนองค์ความรู้ ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการสนับสนุนองค์ความรู้
        ต่อวันลดลง 0.11 กิโลกรัม หรือคิดเป็นร้อยละ 24.44 และค่าใช้จ่ายสำหรับการเก็บขนและกำจัด
        ขยะลดลง 676,003 บาท คิดเป็น ร้อยละ 23 ซึ่งเทศบาลตำบลป่าสักสามารถนำงบประมาณส่วนนี้     ในการดำเนินงาน ดังนี้ ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ และ
                                                                                              ให้คำปรึกษาในการดำเนินงาน, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น เป็นพี่เลี้ยง
        ไปใช้ในกิจกรรมอื่นเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นต่อไป ปัจจุบัน เทศบาลตำบลป่าสักกลายเป็นแหล่ง  ให้คำแนะนำปรึกษาในการดำเนินงาน และประสานผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาปฐมวัยมาให้ความรู้
        เรียนรู้และศึกษาดูงานเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะแบบครบวงจรให้แก่คณะต่างๆ มากกว่า      ในการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, สำนักงาน

        200 คณะ เพราะชุมชนสามารถพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีในการจัดการขยะและกลายเป็นชุมชน          สนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในระดับจังหวัด สนับสนุนและประสานงานในการนำครูผู้ดูแล
        ปลอดขยะ โดยชุมชนได้รับรางวัลชุมชนปลอดขยะ จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง
        ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ต่อเนื่องมาโดยตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 – 2561           เด็กเข้าร่วมเวทีเสวนาทางวิชาการ และเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการการสร้าง
                                                                                              ความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, โรงเรียนเทศบาล 3 (บุญทวงศ์อนุกูล) จังหวัดลำปาง
        โครงการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน                                                      ให้ความรู้ในการจัดทำหลักสูตร และจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการสร้างความปลอดภัยทางถนน,

              ตำบลป่าสักเป็นตำบลขนาดใหญ่ มีหมู่บ้านในความรับผิดชอบทั้งหมด 18 หมู่บ้าน ปัจจุบัน  สำนักงานขนส่งจังหวัดลำพูน เป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายจราจรและอุบัติเหตุบน
        ประชากรทั้งหมด 14,005 คน ยังไม่นับรวมประชากรแฝงจำนวนมากทั้งคนไทยที่มีภูมิลำเนา        ท้องถนนให้แก่ผู้ปกครอง และจัดกิจกรรมขับขี่ปลอดภัยให้กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, สำนักงาน
        อยู่ต่างจังหวัดและคนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในเขตพื้นที่ ประกอบกับในพื้นที่มีสวนอุตสาหกรรม  ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลำพูน ประสานครูผู้ดูแลเด็กเป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่อง

        เครือสหพัฒน์ลำพูนตั้งอยู่ และยังมีนิคมอุตสาหกรรมลำพูนอยู่บริเวณใกล้เคียง ทำให้มีจำนวน     การป้องกันและการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ และสำนักงานทางหลวงชนบทจังหวัด
        รถวิ่งสัญจรในเขตพื้นที่เพิ่มขึ้นและเกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง  สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน  ลำพูน ให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะในการจัดทำจุดจอดรถที่ถูกตามหลักวิชาการ
        ของประชาชนในพื้นที่                                                                         4 กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการประชาสัมพันธ์โครงการ

              ในปี พ.ศ. 2555 เทศบาลตำบลป่าสักเล็งเห็นความสำคัญของการลดการสูญเสียจาก           ดังนี้ ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน จัดแสดงผลงานวิชาการในงานมหกรรมอุบัติเหตุ
        อุบัติเหตุบนท้องถนน จึงได้บรรจุโครงการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนไว้ในแผนยุทธศาสตร์     แห่งชาติ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น จัดทำวีดีทัศน์เพื่อเผยแพร่, สำนักงาน

        ด้านสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่เนื่องจากอำนาจหน้าที่ของเทศบาลตำบลป่าสัก         สนับสนุนการป้องกันอุบัติเหตุจราจรในระดับจังหวัด (สอจร.) ตีพิมพ์หนังสือ เรื่อง ถอดบทเรียน
        มีข้อจำกัด ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ เทศบาลตำบลป่าสักจึงอาศัยการ    เด็ก เยาวชน กับความปลอดภัยทางถนน เมล็ดพันธ์ แห่งความปลอดภัยทางถนน, สำนักงานขนส่ง
        เสริมสร้างเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตลอดจน    จังหวัดลำพูน ประสานงานโรงเรียนให้เด็กนักเรียนไปร่วมแสดงเพื่อรณรงค์การสร้างความปลอดภัย
        ได้ส่งเสริมให้คุณครู คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้นำชุมชน ร่วมเป็นเครือข่าย     บนท้องถนน และภาคประชาสังคม ประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษา ชมรมผู้ปกครอง
        ดำเนินงานควบคู่ไปพร้อมกัน เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุบนท้องถิ่นในกลุ่มเด็กเล็ก   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลป่าสัก ผู้นำชุมชน จำนวน 18 หมู่บ้าน สถานีวิทยุชุมชน รวมทั้งโรงเรียน
                                                                                              วัดสันป่าสัก มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานผ่านการประชุมผู้ปกครองในแต่ละภาคเรียน



        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   370   371   372   373   374   375   376   377   378   379   380