Page 39 - kpi20109
P. 39
พอเพียง และเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยจัดกิจกรรม “กองทุนความฝัน โครงการ “เด็กนอกคอก” จึงถือว่าเป็นโครงการที่ช่วยสร้างคุณธรรม จริยธรรมที่ดี
ของเด็ก” ภายใต้แนวคิด “อดออมวันนี้ เพื่อความฝันของฉันในวันหน้า” และเป็นโครงการที่เสริมเพิ่มเติมจากหลักสูตรแกนกลาง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีที่สุดสำหรับ
เด็กนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองแม่เหียะ และเป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างพลเมืองที่ดี
กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้และตระหนัก เข้าใจและ
ปฏิบัติตนตามหลักประชาธิปไตย ยอมรับหลักของการอยู่ร่วมกันในสังคม เรียนรู้เรื่องระเบียบ ของชุมชน การเริ่มต้นที่การศึกษาพื้นฐานจะสร้างรากฐานที่ดีและเข้มแข็งสำหรับชุมชน ซึ่งเป็น
วินัยในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น และยอมรับในหลักของผู้นำ ผู้ตาม สามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะ การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นการให้เด็กได้ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข ปลูกฝังจิตสำนึก และ
ระบบคุณค่า ความคิด ความเชื่อ ด้วยวิธีการต่างๆ ที่ผสมผสานสารกับการเรียนรู้ผ่าน
สมกับวัย มีการจัดกิจกรรมการเลือกตั้งภายในโรงเรียน เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ประสบการณ์จริง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เด็กมีส่วนร่วมและให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติ คิดและทำ
ภายใต้แนวคิด “หนูน้อยคนดีในวิถีประชาธิปไตย”
อย่างเป็นธรรมชาติโดยไม่ถูกบังคับ เพราะจะเป็นการสร้างความประทับใจและจดจำเป็นการเรียนรู้
กิจกรรมหนูน้อยเรียนรู้ดินขอแม่เหียะ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ ภูมิปัญญาของท้องถิ่น ตำบล ที่ฝังรากลึกลงในจิตใจและความทรงจำได้ยาวนาน
แม่เหียะ รู้คุณค่า เห็นความสำคัญ และร่วมอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไป โดยอาศัย ปราชญ์
ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในพื้นที่ เป็นผู้ถ่ายทอดกระบวนการ และปลูกฝังแนวคิดเรื่อง
การรักท้องถิ่น เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษาและชุมชน ภายใต้แนวคิด
“หนูน้อยเรียนรู้ดินขอ ภูมิปัญญาแม่เหียะ”
กิจกรรมอุ้ยสอนหลานสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ ศิลปะ วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั้งในเรื่องสิ่งประดิษฐ์ อาหารที่มีในพื้นถิ่นภาคเหนือ โดยวิทยากรที่เป็น
ผู้สูงอายุ เป็นปราชญ์ชาวบ้านที่อยู่ในพื้นถิ่นตำบลแม่เหียะให้เด็กได้เกิดการปฏิบัติจริง เกิดความ
ภูมิใจรักท้องถิ่นของตน เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมระหว่างสถานศึกษาและชุมชน และทำให้
ผู้สูงอายุที่มาเป็นวิทยากร ได้เกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง และรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่ากับลูกหลาน
กิจกรรมอยู่ภายใต้แนวคิด “อุ้ยสอนหลาน สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น”
การดำเนินกิจกรรมทั้ง 8 กิจกรรมนำมาร้อยเรียงปฏิบัติเพื่อให้ตอบโจทย์การปลูกฝังคุณ
ธรรมจริยธรรมทั้ง 5 เรื่อง เพื่อให้เกิดผลดีกับเด็ก โดยอาศัยความร่วมมือจากชุมชน ผู้สูงอายุ
พระสงฆ์ ปราชญ์ชาวบ้าน และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เช่น การเข้าร่วมกิจกรรม การเป็น
วิทยากร เป็นต้น โดยหลังจากที่ได้มีการการจัดกิจกรรมต่างๆ โรงเรียนจะมีการประเมินผลโดยใช้
เครื่องมือแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ผลลัพธ์
ในด้านดี หมายถึง เด็กมีความสามารถในการควบคุมอารมณ์และความต้องการของตนเอง รู้จัก
เห็นใจผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ด้วยวิธีการสังเกต และประเมินโดยครูผู้สอน
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61