Page 47 - kpi20109
P. 47
6
และการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม นอกจากนี้ ผู้สูงอายุยังมีบทบาทในการเป็นวิทยากรให้ ในการดำเนินงานดูแลผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียงหรือมีภาวะพึ่งพิง ภาคีเครือข่ายได้คิดค้น
ความรู้ในเรื่องที่ตนมีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญ ตลอดจนภาคีเครือข่ายอื่นๆ เช่น นวัตกรรมที่นำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาช่วยให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย โดยกลุ่มจิตอาสา
เทศบาลตำบลยางเนิ้ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล หน่วยงานราชการ สถาบัน ใกล้บ้านใกล้ใจได้มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่น (Application) บนสมาร์ทโฟน (Smart Phone)
การศึกษา และกลุ่มจิตอาสา เป็นต้น ก็ได้เข้ามาช่วยเป็นวิทยากรให้ความรู้ในเรื่องที่จำเป็นและ ที่สามารถบอกตำแหน่งหรือพิกัดที่พักอาศัยของผู้สูงอายุแต่ละราย เป็นเสมือนแผนที่ที่ช่วยให้
เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุด้วย และเพื่อให้การดำเนินงานของศูนย์ฯ มีการพัฒนาปรับปรุงอย่าง ทีมสหวิชาชีพและ Care Giver เดินทางไปเยี่ยมผู้สูงอายุได้ถูกต้องตามเส้นทาง ตลอดจน
ต่อเนื่อง คณะกรรมการศูนย์ฯ ทำการประเมินผลการดำเนินงานตลอดทุก 3 เดือน แอพพลิเคชั่นนี้ยังจัดเก็บข้อมูลของผู้สูงอายุแต่ละรายไว้ เช่น ข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลเกี่ยวกับ
ครอบครัว ประวัติโรคประจำตัวและความเจ็บป่วย และประวัติการรักษา เป็นต้น นอกจากนี้
โครงการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care : LTC)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางเนิ้งยังได้พัฒนาช่องทางในการติดต่อสื่อสารระหว่าง
จากการลงพื้นที่เยี่ยมกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียงของกลุ่มจิตอาสาใกล้บ้านใกล้ใจ เทศบาลตำบล ทีมสหวิชาชีพกับครอบครัวของผู้สูงอายุที่ป่วยติดเตียงหรือมีภาวะพึ่งพิงผ่านช่องทางออนไลน์ คือ
ยางเนิ้งจึงร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยางเนิ้งสมัครเข้าร่วมโครงการการจัดระบบ ไลน์ (Line) และเฟสบุ๊ค (Facebook) เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
การดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care : LTC) ของ ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เกิดการติดต่อที่สะดวก รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และมีความเข้าใจถูกต้อง
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ได้เข้าถึงการบริการ ตรงกัน อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดูแลผู้สูงอายุ
สาธารณสุขตามสิทธิประโยชน์อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ทั้งนี้ ในการดำเนินงาน กลุ่มจิตอาสา อาสา จากการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวมตามคำขวัญที่ว่า “สูงวัย สมวัย ใส่ใจสุขภาวะ” ส่งผลให้
สมัครประจำหมู่บ้าน ทีมหมอครอบครัว และเทศบาลตำบลยางเนิ้ง ได้คัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะ เทศบาลตำบลยางเนิ้งสามารถขยายผลการดูแลผู้สูงอายุได้ครอบคลุมทุกกลุ่ม ทั้งกลุ่มติดบ้าน
พึ่งพิงตามแบบประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล ติดสังคม และติดเตียง ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นแบบครบวงจร
(Barthel ADL Index) เพื่อแบ่งผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงออกเป็น 4 กลุ่ม ซึ่งจากการคัดกรองพบว่า โดยกลุ่มติดบ้านได้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเข้ามาร่วมทำกิจกรรมกับศูนย์ผู้สูงอายุ เป็นการ
ผู้สูงอายุในพื้นที่ที่เข้าข่ายตามเกณฑ์มีจำนวนรวม 37 คน แบ่งเป็น กลุ่มที่ 1 ผู้ที่เคลื่อนไหวได้บ้าง เสริมสร้างสุขภาพกายใจของผู้สูงอายุกลุ่มนี้ในเชิงป้องกัน โดยเฉพาะทางด้านจิตใจที่ผู้สูงอายุรู้สึก
และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายแต่ไม่สับสนทางสมอง จำนวน 14 คน กลุ่มที่ 2 ผู้ที่มี มีความสุข สดชื่น และสบายใจเมื่อได้พบปะเพื่อนฝูงและทำกิจกรรมร่วมกัน ที่สำคัญทำให้ผู้สูงอายุ
อาการเหมือนกลุ่มที่ 1 แต่มีภาวะสับสนทางสมอง จำนวน 13 คน กลุ่มที่ 3 ผู้ที่เคลื่อนไหวไม่ได้ รู้สึกมีคุณค่าและความสำคัญเพราะได้ใช้ความรู้ความสามารถของตนให้เป็นประโยชน์ นอกจากนี้
และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรืออาจมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง จำนวน 4 คน และ เทศบาลตำบลยางเนิ้งยังช่วยให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียงหรือมีภาวะพึ่งพิงเข้าถึงการบริการสาธารณสุข
กลุ่มที่ 4 ผู้ที่มีอาการเหมือนกลุ่มที่ 3 และมีอาการเจ็บป่วยรุนแรงหรืออยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต ตามสิทธิประโยชน์ที่พึงได้จากรัฐอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ผู้สูงอายุติดเตียงหรือมีภาวะพึ่งพิง
จำนวน 6 คน ซึ่งแต่ละกลุ่มได้รับการประเมินความต้องการการบริการด้านสาธารณสุขที่แตกต่าง ที่ครอบครัวมีรายได้น้อยก็ได้รับการดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ และมีผู้ที่คอยดูแลนอกเหนือจาก
กันตามชุดสิทธิประโยชน์และอัตราค่าชดเชยค่าบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะ ครอบครัวและเครือญาติ ส่งผลให้ผู้สูงอายุติดเตียงหรือมีภาวะพึ่งพิงมีกำลังใจในการดำรงชีวิต
พึ่งพิง รวมทั้งยังมีการจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) เพื่อให้จิตอาสาที่ผ่านการอบรม อันเป็นการลดความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายของผู้สูงอายุกลุ่มนี้โดยทางอ้อมต่อไป
การดูแลผู้ป่วยติดเตียง หรือเรียกว่า Care Giver : CG ลงพื้นที่เข้าดูแลผู้ป่วยตามแผนที่กำหนด
เป็นบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Health Care) โดยบุคลากรสาธารณสุข
ทีมสหวิชาชีพ และ Care Giver
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61