Page 49 - kpi20109
P. 49
โครงการประชุมเพื่อรับทราบปัญหาความต้องการและแลกเปลี่ยน ตำบลยางเนิ้งยังตั้งกลุ่มไลน์ (Group Line Application) ที่มีชื่อว่า “ดำรงธรรมยางเนิ้ง”
ความคิดเห็นในการพัฒนาหมู่บ้าน (วาระยามเช้า) เพื่ออำนวยความสะดวกประชาชนในการร้องเรียนร้องทุกข์
ผู้บริหารเทศบาลตำบลยางเนิ้งมีนโยบายให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น การประชุมวาระยามเช้าที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเช่นนี้ ส่งผลให้เทศบาล
อย่างเต็มที่เพื่อให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของชุมชนท้องถิ่นและมีจิตสำนึกรักบ้านเกิด ตำบลยางเนิ้งสามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้อย่าง
เมืองนอนของตน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา เทศบาลตำบลยางเนิ้งได้จัดให้มีการประชุม รวดเร็ว ตรงจุด และตรงใจ โดยในปีงบประมาณ 2560 เทศบาลตำบลยางเนิ้งได้รับเรื่องร้องเรียน
“วาระยามเช้า” เพื่อนำปัญหา ความต้องการ เรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ ความคิดเห็น และ คำร้องทั่วไป และใบบอก รวมทั้งสิ้น 371 เรื่อง และสามารถจัดการแก้ไขได้มากถึง 354 เรื่อง
ข้อเสนอแนะของประชาชนทุกหมู่บ้านในเขตเทศบาล มาเสนอต่อที่ประชุม เพื่อให้ที่ประชุม คิดเป็นร้อยละ 95.41 ส่วนที่ยังคงไม่สามารถจัดการแก้ไขได้เป็นการประสานงานให้หน่วยงานอื่น
ได้ร่วมกันระดมความคิดเห็นในการจัดการและแก้ไขปัญหา ประกอบกับผู้บริหารของเทศบาล ที่มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบในเรื่องนั้นเป็นผู้ดำเนินการ นอกจากนี้ ประชาชนยังมี
จะทำการรายงานผลการปฏิบัติงานในเดือนที่ผ่านมา ทั้งด้านการคลัง สาธารณสุข การศึกษา ความเชื่อมั่นและไว้วางใจเทศบาล เพราะได้เข้าร่วมการประชุม รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และหากมี
สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพชีวิต ฯลฯ ต่อที่ประชุม เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบต่อไป ข้อสงสัยก็สามารถสอบถามหรือตรวจสอบเทศบาลได้ ซึ่งเป็นการแสดงถึงความโปร่งใส
เมื่อประชาชนมีความเชื่อมั่นและไว้วางใจต่อเทศบาลแล้ว ย่อมนำมาสู่การมีส่วนร่วมในการทำ
ในการประชุมวาระยามเช้า ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย คณะผู้บริหารของเทศบาล โครงการและกิจกรรมอื่นๆ ของเทศบาลต่อไป
สมาชิกสภาเทศบาล พนักงานเจ้าหน้าที่ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และคณะกรรมการของทุกหมู่บ้าน/
ตัวแทนหมู่บ้านๆ ละ 5 คน จากทั้งหมด 8 หมู่บ้าน รวม 40 คน ซึ่งสมาชิกสภาเทศบาล กำนัน โครงการตลาดประชารัฐ ท้องถิ่น สุขใจ
ผู้ใหญ่บ้าน และคณะกรรมการหมู่บ้าน มีบทบาทสำคัญในการเป็นตัวแทนชาวบ้านนำเสนอปัญหา ปี พ.ศ. 2552 ผู้บริหารเทศบาลตำบลยางเนิ้งได้ปรับปรุงและพัฒนาตลาดเช้ายางเนิ้ง
และความต้องการ ค้นหาแนวทางในการจัดการแก้ไขปัญหาและแนวทางการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ซึ่งมีสภาพชำรุดทรุดโทรม คับแคบ และมีระบบสาธารณูปโภคไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ให้เป็น
ร่วมกับเทศบาล และนำผลการดำเนินงานของเทศบาลกลับไปแจ้งให้คนในชุมชนทราบ ตลาดสดน่าซื้อที่ถูกต้องตามหลักของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในด้านสุขาภิบาล
การประชุมวาระยามเช้าจัดขึ้นเป็นประจำทุกวันพฤหัสบดีในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน เป็น สิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านความคุ้มครองผู้บริโภค ต่อมาในปี
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการสื่อสารสองทางระหว่างเทศบาลตำบลยางเนิ้งและประชาชน แต่เดิมเทศบาล พ.ศ. 2554 ได้ส่งตลาดสดเทศบาลตำบลยางเนิ้งเข้ารับการประเมินตามเกณฑ์ของกรมส่งเสริม
ตำบลยางเนิ้งได้มีการถ่ายทอดสดเสียงการประชุมผ่านทางคลื่นวิทยุชุมชน และหากประชาชน การปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย และได้รับผลการประเมินมาตรฐานอยู่ในระดับดี จากนั้น
ที่กำลังรับฟังอยู่ขณะนั้นต้องการแสดงความคิดเห็นหรือมีข้อเสนอแนะ ก็สามารถโทรศัพท์เข้ามา จึงได้เข้าร่วมโครงการตลาดประชารัฐตามนโยบายของรัฐบาลเพื่อต่อยอดโครงการพัฒนาตลาดสด
ในที่ประชุมผ่านทางสมาชิกสภาเทศบาล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และคณะกรรมการหมู่บ้านได้ น่าซื้อ และเพิ่มเติมกิจกรรมให้เป็นไปตามหลักการของตลาดประชารัฐ ที่ว่า “ท้องถิ่น สุขใจ ยั่งยืน”
กระทั่งปัจจุบันตลาดเช้ายางเนิ้งกลายเป็นศูนย์กลางของตลาดสดที่มีมาตรฐานในเขตอำเภอสารภี
ปัจจุบันเทศบาลตำบลยางเนิ้งได้พัฒนาต่อยอดการประชุมวาระยามเช้าให้ทันสมัยและ
เหมาะสมกับสภาพสังคมที่มีลักษณะกึ่งเมืองกึ่งชนบท เพื่อให้ประชาชนสะดวกในการรับรู้ข้อมูล ตลาดเช้ายางเนิ้ง : ตลาดประชารัฐ ท้องถิ่น สุขใจ ได้มีการดำเนินกิจกรรมที่เปิดโอกาส
ข่าวสารและมีส่วนร่วมในการประชุม โดยมีการถ่ายทอดสดภาพและเสียงของการประชุมผ่านทาง ให้พ่อค้า แม่ค้า และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ดังนี้
เฟสบุ๊ค (Facebook) ของเทศบาล ซึ่งประชาชนสามารถรับชมผ่านช่องทางออนไลน์ได้ตามที่ตน 1) การประสานและบูรณาการงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนตลาด
สะดวก พร้อมกับสามารถแสดงความคิดเห็นได้ทันทีในขณะที่ถ่ายทอดสด นอกจากนี้ เทศบาล ประชารัฐ
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61