Page 90 - kpi20109
P. 90
ผลไม้ ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค มุ่งเน้นให้ประชาชนตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเอง หลักเกณฑ์การจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนเทศบาลสัมพันธ์ขึ้นมาใหม่ จนได้ข้อสรุปว่า ชุมชนจะมี
มากขึ้น ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อที่มาจากการบริโภค เช่น ความดัน เบาหวาน โรคไต การสับเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพการจัดการแข่งขันกีฬา และร่วมกำหนดกติกาการแข่งขันใหม่
ท้องร่วง อาหารเป็นพิษ อีกทั้ง จะมีการส่งเสริมผ่านการจัดนิทรรศการ และการจัดกระบวนการ โดยทั้ง 8 ชุมชนต้องมีส่วนร่วมในการเสนอรูปแบบการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนเทศบาลสัมพันธ์
เรียนรู้ให้กับผู้บริโภค เช่น การดูแลสุขภาพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักแพทย์วิถีธรรม นับได้ว่าเป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนการเพื่อลดปัญหาความขัดแย้งลงได้อย่างมีประสิทธิผล
จำหน่ายผลิตภัณฑ์จากพืชสมุนไพร แสดงการจัดการขยะ แยกขยะตามหลักวิชาการ การจำหน่าย ทั้งนี้ จากการดำเนินงานได้กำหนดมาตรการต่างๆ ที่ทำให้สามารถบรรเทาความขัดแย้ง
ปุ๋ยอินทรีย์ การทำน้ำหมักชีวภาพ และจัดกิจกรรม “หิ้วตะกร้า ถือถุงผ้า มาจ่ายตลาด”
และนำมาซึ่งความปรองดองสมานฉันท์ ให้แก่ชุมชนต่างๆ ดังนี้
ปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ และผลักดันให้บรรลุผลสำเร็จ 4 เทศบาล กำหนดให้ชุมชนเป็นเจ้าภาพในการดำเนินการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชน
คือ การสร้างการรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในเรื่องต่างๆ ที่สำคัญ และอยู่ในความสนใจของ เทศบาลสัมพันธ์ นำไปสู่การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนที่จะเป็นเจ้าภาพให้ดีที่สุด เมื่อ
ประชาชนอย่างต่อเนื่อง ชี้แจงทำความเข้าใจกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าในกระบวนการทำงาน สาเหตุที่มา ถึงวาระเจ้าภาพของชุมชนตนเอง
ของปัญหา ตลอดจนแนวทางแก้ไขเพื่อสร้างความเชื่อมั่น รักษาภาพลักษณ์ความสัมพันธ์และความ
ร่วมมืออันดี ส่งเสริมการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจความหลากหลายทางสินค้า มีการจัดกิจกรรม 4 กีฬาพื้นบ้าน เน้นให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการแข่งขันเพื่อเป็นการกระชับความ
เพื่อสร้างบรรยากาศความปลอดภัย รักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ ส่งเสริมความสามัคคี สัมพันธ์ขั้นพื้นฐานในระดับครอบครัว และยังเป็นการปลูกฝังความรัก ความสามัคคี
สมานฉันท์ ส่งเสริมวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยเพื่อเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ ให้เกิดขึ้นในระดับชุมชนต่อไป
แก้ไขปัญหาความต้องการของประชาชนส่งผลให้ประชาชนได้รับความสะดวกเกิดความปลอดภัย 4 ขบวนพาเหรด จะเน้นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของแต่ละชุมชน เพื่อเป็นให้คนในชุมชน
ต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ตลอดจนเกิดสภาพแวดล้อมที่ดี มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ทุกเพศ วัย ได้รับรู้ และดำรงไว้ซึ่งรากเหง้าความเป็นอยู่ของตนเอง นับเป็นการปลูกฝัง
ชุมชนกับการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนเทศบาลสัมพันธ์ ความสำนึกรักในชุมชนที่อยู่ของตนเองและนอกจากนี้ยังส่งเสริมให้คนในชุมชน
ได้ดำเนินชีวิตภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านรูปแบบของขบวนพาเหรด
โครงการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนเทศบาลสัมพันธ์เป็นโครงการที่เป็นอำนาจหน้าที่ของ
เทศบาลภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี แผนงานสร้าง ที่ใช้วัสดุตกแต่งที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ความเข้มแข็งของชุมชน ทั้งนี้ โครงการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชนเทศบาลสัมพันธ์ได้ดำเนินการ 4 มีการปรับเปลี่ยนของรางวัลตอบแทนในการแข่งขันกีฬา จากถ้วยและเงินรางวัล
ติดต่อเป็นระยะเวลา 15 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 - 2559 เทศบาลตำบลกำแพงเป็นเจ้าภาพในการ เป็นโต๊ะ เก้าอี้เพื่อให้คนในชุมชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
จัดการแข่งขันกีฬา และเป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์การแข่งขันกีฬาต่างๆ เอง และมักมีปัญหา
ความขัดแย้งกันระหว่างชุมชนที่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา เนื่องจากชุมชนมุ่งเพียงแต่การเอาชนะและ 4 หลังการแข่งขันกีฬาเสร็จสิ้น จัดให้มีการเลี้ยงสังสรรค์ร่วมกันทั้ง 8 ชุมชน เพื่อเป็น
เงินรางวัลจากการแข่งขันฯ ดังนั้น แต่ละชุมชนจึงพยายามหาวิธีการที่จะทำให้ชุมชนของตนเอง กระชับความสัมพันธ์ระหว่างกันและก่อให้เกิดบรรยากาศแห่งความเป็นมิตร
ได้รับชัยชนะ ด้วยวิธีการดึงตัวผู้เล่นจากที่อื่นไม่ใช่ประชาชนในเขตเทศบาล จึงเกิดการโต้แย้งและ 4 มีการร่วมมือกันของคนในชุมชนทุก เพศ วัย และกลุ่มอาชีพเพื่อแสดงกิจกรรม
มีการทะเลาะวิวาท เกิดการผิดใจกันระหว่างชุมชน หรือแม้แต่ญาติพี่น้องที่อยู่ต่างชุมชน บนเวทีในงานเลี้ยงสังสรรค์ เพื่อเป็นการสร้างความบันเทิงและผ่อนคลายให้เกิดขึ้น
ร่วมกันระหว่างชุมชน
จากปัญหาดังกล่าว เทศบาลตำบลกำแพงได้เชิญคณะกรรมการชุมชน ทั้ง 8 ชุมชน มาร่วม
ประชุมที่เทศบาล โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดปัญหาความขัดแย้ง และหารือกันในเรื่องการกำหนด
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61