Page 95 - kpi20109
P. 95

5


              เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์  ใช้ยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนงานพัฒนาภายใต้วิสัยทัศน์      เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีขยะต้องนำไปกำจัด 32 ตัน/วัน และ อปท. อื่น นำขยะมากำจัดร่วม
        “กาฬสินธุ์เป็นเมืองน่าอยู่ คู่ธรรมาภิบาล” ด้วยการนำหลักธรรมาภิบาลการบริหารงานมาใช้ คือ    35 ตัน/วัน รวมเป็นขยะที่เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ต้องกำจัด 67 ตัน/วัน

              1. การบริหารภารกิจเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน ด้วยการจัดตั้งศูนย์ข้อมูล         เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ จึงประสบปัญหาไม่มีพื้นที่สำหรับกำจัดขยะ ส่งผลให้เกิดการสะสม

        ข่าวสารของเทศบาลเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการสืบค้นและให้ความรู้แก่ประชาชน มีบริการให้  ของขยะตามพื้นที่ต่าง ๆ จำนวนมาก ดังนั้น กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
        ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชนร่วมกับอัยการจังหวัดกาฬสินธุ์ และเป็น                 สิ่งแวดล้อม จึงมีนโยบายขอความร่วมมือจากท้องถิ่นที่มีระบบกำจัดขยะเดิมอยู่แล้วให้เป็นศูนย์รับ
        ศูนย์ประนีประนอมไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของเทศบาลผ่าน      ขยะจากพื้นที่อื่นในรูปแบบกลุ่ม cluster ในจังหวัดกาฬสินธุ์แบ่งออกเป็น 5 cluster และเทศบาล
        สื่อต่าง ๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุโทรทัศน์ หอกระจายข่าว เสียงตามสาย เว็บไซต์เทศบาล และ  เมืองกาฬสินธุ์เป็นศูนย์ cluster ที่ 1 รับขยะจาก อปท. อื่นในรัศมี 20 กิโลเมตร ทำให้มี อปท.อื่น
        แอปพลิเคชันไลน์ เป็นต้น รวมทั้งมีการวางระบบควบคุมภายในเพื่อป้องกันความเสี่ยงที่มี     นำขยะมากำจัดขยะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาปริมาณขยะเข้าสู่ระบบเพิ่มมากขึ้น และก่อให้เกิด
        นัยสำคัญ และนำจุดอ่อนต่างๆ มาปรับปรุงแก้ไข                                            ปัญหาระบบกำจัดขยะเต็ม และไม่สามารถกำจัดได้อย่างถูกหลักสุขาภิบาล


              2. การอำนวยความสะดวกและลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน โดยนายกเทศมนตรีเมือง                    เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ จึงหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและลดปริมาณขยะจากต้นทาง
        กาฬสินธุ์ได้มอบอำนาจในการปฏิบัติราชการให้กับรองนายกเทศมนตรีและปลัดเทศบาล  เพื่อ       ให้มากขึ้น ในพื้นที่ของตนเอง และ อปท. อื่นๆ ที่นำขยะมากำจัดกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
        ให้การบริหารงานมีความคล่องตัว มีการออกให้บริการพี่น้องประชาชนในเชิงรุกและใช้เทคโนโลยี  โดยดำเนินการตามขั้นตอนของการลดปริมาณขยะจากต้นทาง (Know-how) ที่ประสบความสำเร็จ
        สารสนเทศในการให้บริการ มีคู่มือบริการประชาชนที่มีแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาในการ       มาแล้ว และสามารถลดปัญหาการเพิ่มปริมาณขยะในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ได้เป็นอย่างดี
        ให้บริการ เพื่ออำนวยความสะดวกและมีบริการเชิงรุกถึงบ้านด้วยรถ EMS แก้ไขปัญหาความ       มาเป็นแนวทางหลักในการเพิ่มจำนวนเครือข่าย และเสริมประสิทธิภาพให้กับเครือข่าย ต่อไป

        เดือดร้อนของประชาชนอย่างเป็นระบบตั้งแต่การรับเรื่องราวร้องทุกข์ผ่านช่องทางต่างๆ เพื่อ       กระบวนการสร้างและการเกิดเครือข่าย เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ได้วิเคราะห์ข้อมูลองค์กร
        ดำเนินการแก้ไข พร้อมแจ้งผลการดำเนินการให้ได้รับทราบต่อไป
                                                                                              ปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งหมด 27 แห่ง ที่นำขยะมาร่วมกำจัดกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ควบคู่
              สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ         ไปกับการวิเคราะห์รายจ่ายของระบบกำจัดขยะของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ พบว่า อปท. จำนวน
        ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายภาครัฐเอกชน และประชาสังคม ได้แก่                            25 แห่ง มีปริมาณขยะนำเข้าสู่ระบบกำจัดเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ  คิดเป็น 92.6 % ของ อปท. ที่นำขยะ
                                                                                              มาร่วมทิ้ง ในขณะเดียวกันค่าใช้จ่ายการกำจัดขยะที่เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เรียกเก็บเป็นอัตราที่ต่ำ
        โครงการเพิ่มประสิทธิภาพเครือข่ายประชารัฐจัดการขยะลดโลกร้อน
                                                                                              เมื่อคิดต้นทุนค่าใช้จ่าย จึงดำเนินการเพื่อให้เกิดการลดปริมาณขยะจาก อปท. ก่อนจะนำมากำจัด
              จากสภาพปัญหาขยะล้นเมืองที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องให้ความสนใจเป็น           ร่วมกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ดังนี้
        อย่างมาก และมีแนวโน้มสูงมากขึ้นทุกปี ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำเป็นต้องมีการพัฒนา

        ศักยภาพรองรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การบริการประชาชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้        1.  คืนข้อมูลพร้อมเพิ่มมาตรการทางการเงิน แจ้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเป็น
        เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีการสร้าง บ่อฝังกลบ phase 1 ซึ่งการออกแบบระบบกำจัดขยะในขณะนั้น           เป้าหมายทราบข้อมูล สภาพปัญหา และมาตรการแก้ไข
        ออกแบบเพื่อรองรับปริมาณขยะเฉพาะเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เท่านั้น ไม่ได้ออกแบบรองรับกลุ่ม         2.  ให้คำแนะนำเชิงรุกถึง อปท. และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ศูนย์เรียนรู้ด้านการคัดแยกขยะ
        cluster แต่อย่างใด โดยเมื่อเริ่มใช้ระบบกำจัดขยะ phase 1 มีท้องถิ่นอื่นนำขยะมากำจัดร่วม        ของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
        เนื่องจากเป็นพื้นที่โดยรอบระบบกำจัดขยะ หรือเป็นผู้ได้รับผลกระทบ จำนวน 15 แห่ง ขณะนั้น
                                                                                                    3.  ประเมินการลดปริมาณขยะและคืนข้อมูลอย่างต่อเนื่อง

        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100