Page 99 - kpi20109
P. 99

จากจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์       พี่เลี้ยงให้กับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 330 คน ซึ่งดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน
        จึงร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดระบบการดูแลให้ทั่วถึงและเหมาะสม รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อม            ในชุมชน เมื่อปี 2557 ผู้สูงอายุมีจำนวนมากก้าวเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” ลำพังเจ้าหน้าที่
        ให้เกื้อหนุนต่อการดำรงชีวิต ที่อาจก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ สำหรับผู้สูงอายุตามมา เช่น ปัญหา      ของรัฐไม่สามารถดูแลผู้สูงอายุให้ทั่วถึงได้ และ อสม.ก็มีความรู้ความสามารถพื้นฐาน
        ด้านสุขภาพ ปัญหาด้านสังคม ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ปัญหาด้าน                    ทั่วไปเท่านั้น จึงมีแนวคิดให้ภาคประชาชนที่มีศักยภาพมาช่วยกันจัดระบบการดูแล

        ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ได้ปรับเปลี่ยนวิธีการดูแล           เพื่อให้ตรงตามความต้องการของผู้สูงอายุอย่างแท้จริง แก้ไขปัญหาการดูแลไม่ทั่วถึง
        ผู้สูงอายุจากเฉพาะด้านสุขภาพมาดูแลทั้งองค์รวมทั้งสุขภาพกาย/จิตใจรวมถึงดูแลสภาพแวดล้อม         และให้เกิดความยั่งยืน รวมทั้งมีความเอื้ออาทรต่อกันในสังคมจึงคัดเลือก อสม.
        ภายใน/ภายนอกบ้านให้เหมาะสมและเอื้อต่อการดำเนินชีวิต ไม่ดูแลเฉพาะผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย         ที่มีเวลาเพียงพอและมีจิตอาสา อบรมยกระดับขึ้นเป็นอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
        เท่านั้น แต่เป็นการจัดระบบดูแลผู้สูงอายุครบทั้ง 3 กลุ่ม โดยกลุ่มติดสังคมดูแลผ่านกิจกรรมของ    โดยตรง 86 คน ให้สามารถดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเล็กน้อย (ติดบ้าน) ในชุมชนได้
        โรงเรียนผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้านดูแลผ่านกิจกรรมกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ และกลุ่มติดเตียงดูแล         3.  ร่วมกับชมรม/สมาคมที่เกี่ยวข้องผู้สูงอายุ 13 แห่ง ตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุและบริหาร

        ให้บริการด้านสุขภาพและฟื้นฟูสมรรถภาพถึงบ้าน ทำให้บ้านเปรียบเสมือนโรงพยาบาล ผู้ป่วยและ         จัดการโดยคณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุเอง
        ญาติไม่ต้องเทียวไปรักษาหรือนอนค้างที่โรงพยาบาลนาน ๆ ซึ่งทำให้ญาติไม่สามารถไปประกอบ
        อาชีพได้และผู้ป่วยก็รู้สึกคิดถึงบ้านไม่อบอุ่นเหมือนบ้านที่มีคนในชุมชนคอยทักทายให้กำลังใจ       4.  จัดอบรม อผส.ที่มีความสามารถยกระดับเพิ่มขึ้นเป็น Care Giver 33 คน ให้สามารถ
                                                                                                      ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือต้องอาศัยผู้อื่น ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
              เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เป็นผู้ริเริ่มเครือข่ายเริ่มดำเนินการต่อยอดจากปี 2554 โดยเพิ่ม
        กิจกรรมจนถึงปัจจุบัน ทุกกิจกรรมยังดำเนินการต่อเนื่อง คือ ตั้งสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์            (ติดเตียง) ทำให้สามารถดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชนได้อย่างทั่วถึง โดยใช้บ้านเป็นเตียง
                                                                                                      โรงพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย ในขณะเดียวกันผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีและ
        เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จัดกิจกรรมกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุติดบ้าน ตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ  มีศักยภาพก็มีความจำเป็นต้องได้รับการดูแลเพื่อชลอไม่ให้ความเสื่อมถอยกลายเป็น
        เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม  ดูแลผู้สูงอายุที่ป่วยและฟื้นฟูสภาพถึงบ้าน  ความเจ็บป่วย
        สำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง หน่วยเคลื่อนที่ตรวจ/รักษาสุขภาพช่องปากเชิงรุกสำหรับผู้สูงอายุ
        ในชุมชน ตั้งกองทุนขยะ recycle เอื้ออาทรผู้ด้อยโอกาส หน่วยเคลื่อนที่ตรวจ/รักษาสุขภาพ         5.  มีการประเมินผลกระทบสุขภาพผู้สูงอายุระดับชุมชน (Community Health Impact
        สายตาเชิงรุกสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน ซ่อมแซม/เปลี่ยนโถส้วมให้เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ           Assessment : CHIA) โดยให้คนในชุมชนจัดทำข้อมูลชุมชนด้วยตนเอง จะทำให้เห็น
        ซ่อมแซมบ้านอยู่อาศัยให้มั่นคงแข็งแรง ตั้งกองทุนจุติสุขาวดี และตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต       ศักยภาพของพื้นที่และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริง รู้ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาวะผู้สูงอายุ

        ผู้สูงอายุและคนพิการ                                                                          และทราบการดำเนินงานที่ผ่านมาว่าส่งผลกระทบต่อสุขภาวะผู้สูงอายุอย่างไร นำข้อมูล
                                                                                                      นี้ไปสู่การกำหนดแนวทางพัฒนาการทำงานและเสนอผู้บริหารกำหนดเป็นนโยบาย
        การดำเนินการร่วมกันของเครือข่าย คือ
                                                                                                      สาธารณะในการดูแลผู้สูงอายุ
              1.  ให้การช่วยเหลือจัดการศพผู้สูงอายุในรูปแบบฌาปนกิจสงเคราะห์ ชื่อ “สมาคม       ผลการดำเนินงานร่วมกันของเครือข่าย
                 ฌาปนกิจสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ” ดูแลโดยเครือข่ายภาคประชาชน

                                                                                                    สามารถจัดกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุได้ครอบคลุมทุกกลุ่มสอดคล้องกับบริบทและสภาพ
              2.  ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเดิมดูแลโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐจากหน่วยบริการปฐมภูมิ   ความเป็นอยู่ที่แท้จริงในชีวิตประจำวัน มีกิจกรรมดูแลผู้สูงอายุตามตัวชี้วัด เช่น กลุ่มติดสังคม
                 (Primary Care Unit :PCU) ในพื้นที่ 4 แห่ง ดูแลด้านการรักษาพยาบาลและเป็น
                                                                                              จำนวน  2,996 คน  มีกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ ปัจจุบันมีนักเรียน 289 คน กลุ่มติดบ้านที่ไม่มี


        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104