Page 6 - kpi20852
P. 6

การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและข้อเสนอแนะการจัดทำ
 ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563


 สถาบันพระปกเกล้า โดยสำนักส่งเสริมวิชาการรัฐสภา ในฐานะ    คำนำ

 หน่วยงานที่สนับสนุนการทำงานของสมาชิกรัฐสภา จึงได้จัดทำรายงาน

 การศึกษาเรื่อง “การวิเคราะห์สถานการณ์การคลังของประเทศและ

 ข้อเสนอแนะการจัดทำร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี   การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี ซึ่งจัดทำขึ้นทุกปี ตามโครงสร้าง

 งบประมาณ พ.ศ. 2563” และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการศึกษาฉบับนี้   ยุทธศาสตร์ของรัฐบาล เพื่อส่งเสริมให้หน่วยงานทำงานร่วมกัน ในลักษณะ

 จะเป็นข้อมูลสำคัญสำหรับฝ่ายนิติบัญญัติในการนำไปประกอบการพิจารณา  ประสานเชื่อมโยงแบบเครือข่าย เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานของ

 ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ    กระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามเป้าประสงค์

 รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ต่อไป   ที่วางไว้ โดยคำนึงถึงหลักประหยัด คุ้มค่า ประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและ
                        ประเทศชาติ และเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์และ
                        นโยบายเรื่องสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ให้เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม


 สถาบันพระปกเกล้า       มีประสิทธิภาพ ไม่ซ้ำซ้อน โดยคำนึงถึงความมั่นคงและความยั่งยืนของประเทศ

                               อย่างไรก็ตาม ฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งต้องให้ความเห็นและอนุมัติการใช้

                        งบประมาณที่ฝ่ายบริหารนำเสนอมักมีเวลาพิจารณาอย่างจำกัด ไม่ว่าจะ
                        เป็นการพิจารณาในวาระแรก วาระที่ 2 หรือวาระที่ 3 โดยเฉพาะวาระแรก

                        ที่เป็นการกำหนดวงเงินงบประมาณรวม และวงเงินหลักอื่น อาทิ วงเงิน
                        งบรายจ่ายประจำ งบรายจ่ายลงทุน งบชำระคืนต้นเงินกู้ เป็นต้น การพิจารณา

                        ในวาระนี้มีความสำคัญยิ่ง เพราะความเหมาะสมของวงเงินงบประมาณขึ้นกับ

                        การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ การคาดการณ์ความสามารถในการหารายได้ของ
                        รัฐบาล รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์ผลของการจัดสรรวงเงินต่อการขยายตัวทาง

                        เศรษฐกิจหรือเป้าหมายหลักอื่น ๆ เช่น การส่งเสริมนวัตกรรม การลงทุน
                        โครงสร้างพื้นฐาน การลดความยากจน การลดความเหลื่อมล้ำ เป็นต้น ซึ่งฝ่าย

                        นิติบัญญัติต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์ระดับมหภาคเพียงพอจึงสามารถ

                        ทำหน้าที่พิจารณาในวาระที่ 1 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                               รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยได้รับการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจาก

                        สถาบันพระปกเกล้า (King Prajadhipok’s Institute) โดยมีวัตถุประสงค์

                        (1) เพื่อศึกษาสถานการณ์การคลัง ภาวะเศรษฐกิจและคาดการณ์ภาวะ
                        เศรษฐกิจ และการจัดสรรงบประมาณที่ควรเป็นสำหรับปีงบประมาณ

                        พ.ศ. 2563 และ (2) เพื่อให้สมาชิกรัฐสภาได้มีข้อมูลในการวิเคราะห์




 สถาบันพระปกเกล้า                                                                   สถาบันพระปกเกล้า
 IV                                                                                              V
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11