Page 84 - kpiebook62005
P. 84

ข่าวสารฯ ท าให้ไม่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพตามเจตนารมณ์ และไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิบุคคล และ

               สิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญ และพรบ. อื่น ๆ ด้วย ได้แก่

                        ภาครัฐยังไม่ได้เปิดเผยข้อมูลที่จ าเป็นและส าคัญมากพอแก่สาธารณะ เช่น ข้อมูลสารเคมีน าเข้า


                        หลักเกณฑ์ในการเปิดเผยข้อมูลยังไม่ชัดเจนพอ เช่น ให้เฉพาะรายงานส าหรับผู้บริหารซึ่งยังขาด

                          รายละเอียดหลายส่วน  รายงานประจ าปีควรเป็นข้อมูลที่เปิดเผยโดยไม่ต้องร้องขอ

                        เอกสารซึ่งควรเปิดเผยถูกพิจารณาว่าเป็นความลับส่วนบุคคล เช่น ใบสัมปทาน

                        ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของรัฐ ควรมีข้อมูลหรือช่องทางในการให้ข้อมูลข่าวสารได้โดยไม่ต้องรอดุลย


                          พินิจของผู้บังคับบัญชา หรือลดปัญหาการกีดกันการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เช่น เอกสารใบรง.

                        ข้อมูลของภาครัฐไม่ได้มีการรวบรวมอย่างเป็นหมวดหมู่เพื่อความสะดวกในการเข้าใจและติดตาม

                          เรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันเวลาได้ ไม่สามารถสนับสนุนการพัฒนาอย่างเป็น

                          องค์รวมแบบบูรณาการได้ เช่น ผลการตรวจสอบโรงงานต่าง ๆ ด้านผังเมือง และขาดความ

                          เชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน จึงท าให้ยากให้การวิเคราะห์และติดตาม

                          ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว

                        พรบ. ข้อมูล ไม่มีบทลงโทษหรือเกณฑ์พิจารณาความดีความชอบ ดังนั้นจึงขาดแรงจูงใจหรือ


                          ความผิดตามพรบ. ซึ่งจะมีการถือปฏิบัติอย่างจริงจังเมื่อมีข้อร้องเรียน

                        ข้อมูลในลักษณะแผนที่ เช่น ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) อนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะ

                          หน่วยงานของรัฐหรือผู้ที่ประกอบการเพื่อภาครัฐเท่านั้น

                        ไม่มีระยะเวลาชัดเจนในการเปิดเผยและประชาสัมพันธ์ข้อมูลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อ

                          ความสะดวกในการติดตามและวางแผนการใช้งานที่ชัดเจน


                        ไม่มีองค์กรหรือหน่วยงานในการติดตามและประเมินผลการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นรูปธรรม

                          อย่างเป็นทางการ เช่น คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลตามพรบ. ข้อมูลข่าวสาร

                        การเปิดเผยข้อมูลโดยให้ประชาชนหรือผู้ร้องขอไปถ่ายเอกสารเองโดยไม่มีค่าชดเชย เช่น เอกสาร

                          ของกองทุนสิ่งแวดล้อม

                        พื้นที่พิเศษต่าง ๆ เช่น ส านักงานระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ไม่เปิดเผยข้อมูล

                          ข่าวสารให้สาธารณชนรับทราบค าสั่ง รายงานและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

                   2)  ที่ประชุมเห็นชอบกับหลักการพิจารณาความสมบูรณ์ของข้อมูลที่ภาครัฐควรน าเปิดเผย ดังนี้


                       1.  ข้อมูลถูกต้องครบถ้วน (มีคุณภาพของข้อมูล มีที่มา มีเหตุผล มีความน่าเชื่อถือ)




                                                           -57-
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89