Page 44 - innovation6402
P. 44

44                                                                                    นวัตกรรมประชาธิปไตยศึกษา ปีที่ 2      เล่มที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2563)  45 45




        ปาฐกถาโดย ศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย                                                 เป็นหนึ่งในหลักก�รนั้นก็มีหลักก�รที่นำ�ม�สู่ก�รรับฟัง


                 รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มีก�รแสดงออกถึงคว�มคำ�นึงถึง                 คว�มคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นก�รต่อไป ทว่�กระบวนก�รรับฟัง
        สิทธิเสรีภ�พของประช�ชนอย่�งชัดแจ้ง เห็นได้จ�กม�ตร� 26 ที่มีเนื้อห�         คว�มคิดเห็นนั้นไม่ได้เกิดขึ้นอย่�งง่�ยด�ยนัก โดยเฉพ�ะก�รรับฟัง

        ว่�ก�รตร�กฎหม�ยที่ไม่ได้มีเงื่อนไขบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ต้องคำ�นึง        ที่นำ�ม�สู่ก�รได้ยินอย่�งแท้จริง กระบวนก�รจึงนับเป็นสิ่งที่สำ�คัญ
        ถึงหลักนิติธรรม และไม่เพิ่มภ�ระหรือจำ�กัดสิทธิเสรีภ�พของประช�ชน            เช่นนั้นเองง�นสัมมน�นี้จึงเกิดขึ้นด้วยก�รตระหนักถึงคว�มสำ�คัญ
        เกินสมควร และม�ตร�ที่สำ�คัญไม่แพ้กันซึ่งแสดงถึงคว�มคำ�นึงนี้ก็คือ          ของกระบวนก�รรับฟัง โดยมีจุดมุ่งหม�ยที่จะสร้�งกระบวนก�รแสดง

        ม�ตร� 77 ซึ่งประกอบไปด้วย 8 หลักก�ร ซึ่ง ศ�สตร�จ�รย์วุฒิส�ร ตันไชย         คว�มคิดเห็นที่ดีเท่�ที่ทำ�ได้จ�กก�รมีทรัพย�กรอันจำ�กัด โดยส�ม�รถ
        ได้ชี้ให้เห็นถึงองค์ประกอบหลักของม�ตร� 77 ที่อยู่ในวรรคทั้ง 3 ของ          ห�ถึงผู้เกี่ยวข้องกับตัวกฎหม�ยจริง ๆ จะฟังอย่�งไรให้ได้ยินจริง ๆ

        กฎหม�ยดังต่อไปนี้                                                          แล้วจะทำ�อย่�งไรเพื่อสร้�งกระบวนก�รที่ปร�ศจ�กอคติ เป็นกล�ง
                                                                                   มีประสิทธิภ�พ เหม�ะสมและรอบด้�นที่สุดเท่�ที่จะทำ�ได้
                 1. มีกฎหม�ยเท่�ที่จำ�เป็น


                 2. ก�รพิจ�รณ�คว�มจำ�เป็นของกฎหม�ย
                                                                                   กรณีศึกษาจาก British Columbia
                 3. รัฐต้องจัดดำ�เนินก�รให้ประช�ชนเข้�ถึงกฎหม�ยโดยสะดวก
                                                                                   โดย Renée Marie Muligan
                 4. จัดก�รรับฟังคว�มคิดเห็นให้ผู้เกี่ยวข้อง
                                                                                            Renée Marie Muligan เป็นนักกฎหม�ยที่ทำ�ง�นให้กับรัฐบ�ล
                 5. วิเคร�ะห์ผลกระทบห�กมีก�รบังคับใช้                              British Columbia ของ Canada ได้ยกเอ�ตัวอย่�งกระบวนก�รรับฟัง
                                                                                   คว�มคิดเห็นจ�ก British Columbia ขึ้นม�ในเวทีส�ธ�รณะ โดย Renée
                 6. ประเมินผลหลังก�รออกกฎหม�ย
                                                                                   ได้อธิบ�ยตั้งแต่ก�รเริ่มรับฟังคว�มคิดเห็นนั้นต้องก�รใครเป็นผู้เข้�ร่วม
                 7. หลีกเลี่ยงระบบอนุญ�ต                                           และก�รจัดทำ�กระบวนก�รจัดฟังคว�มคิดเห็นควรทำ�ที่ไหน ทำ�เมื่อไหร่

                                                                                   และทำ�อย่�งไร พร้อมทั้งเสนอปัญห�ของกระบวนก�รจัดฟังคว�มคิดเห็น
                 8. ไม่จำ�เป็นต้องกำ�หนดโทษเป็นโทษท�งอ�ญ�เท่�นั้น
                                                                                   ที่เธอเผชิญ โดย Renée ได้อธิบ�ยว่�ปัญห�ที่เจอมีตั้งแต่ก�รที่ผู้เข้�ร่วม
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49