Page 149 - kpi17733
P. 149
1 8 1
สนับสนุนและร่วมพัฒนาความเป็นเครือข่ายด้วยการขยายเครือข่ายเพิ่มขึ้นกับองค์กร
๏ ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ ในระดับนี้ มีการส่งแกนนำระดับพื้นที่
ปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเองให้เข้ามาส่งเสริมโครงการดังกล่าว โดยในปี พ.ศ. ที่มาจากชุมชนต่างๆเข้าร่วมการจัดนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ผลงานของ
2557 อบจ.สตูล ร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล เครือข่ายในกิจกรรมต่างๆ และรวมถึงการเป็นเจ้าภาพการจัดประชุม
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดที่เป็นเครือข่ายการทำงานให้เข้ามารับฟัง คณะกรรมการเครือข่ายระดับภาค
แนวทางการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนให้จังหวัดสตูลน่าอยู่และเป็นพื้นที่สีเขียว
กิจกรรมที่มีความโดดเด่นของเครือข่ายดังกล่าว เห็นได้จาก “โครงการ
โดยการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือเพื่อการเคลื่อนงานสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง คลองสวยน้ำใส รักษ์คลองดุสนเพื่อคนสตูล” เพื่อเป็นการกระตุ้นและปลูกฝัง
โดยจังหวัดสตูลถือเป็นจังหวัดแรกที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ เข้ามาร่วมเป็น จิตสำนึกของชุมชนในการปกป้องพื้นที่สองฝั่งคลองให้สะอาดและมีความสวยงาม
ภาคีเครือข่าย LA21 ทั้งจังหวัด โดยมีการแบ่งพื้นที่ของคลองดุสนออกเป็น 3 บริเวณคือ พื้นที่ต้นน้ำ กลางน้ำ และ
ปลายน้ำ โดยให้แต่ละชุมชนที่อยู่ริมฝั่งคลองเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแล
ในด้านการสร้างเครือข่ายและองค์ประกอบของเครือข่ายการทำงาน สามารถ ทรัพยากรธรรมชาติของตนเอง การดำเนินโครงการที่เป็นส่วนหนึ่งของการทำให้คลอง
จำแนกได้ดังนี้
ดุสนมีคุณภาพที่ดี มาจากการฝึกอบรมตรวจวัดคุณภาพน้ำให้กับแกนนำของชุมชน
๏
ระดับพื้นที่ มีการพัฒนาให้อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำประจำถิ่นเพื่อสร้างดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตในลำคลองของชุมชน
สิ่งแวดล้อม (ทสม.) เป็นกลไกหลักในการทำกิจกรรม “เส้นทางสู่ชุมชน อย่างเหมาะสม การจัดทำปะการังเทียม โดยสามารถดำเนินกิจกรรมดังกล่าวไปได้
น่าอยู่อย่างยั่งยืน” ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักของเครือข่ายเพื่อให้เกิดองค์ความ แล้วใน 5 พื้นที่
รู้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการท้องถิ่น ผ่านการวิเคราะห์ชุมชน วิเคราะห์ นอกจากนี้ โครงการซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่าย LA21 ยังเห็นได้จาก
และจัดทำแผน บูรณาการแผน และการนำเสนอแผน หลังจากนั้น จึงมี “โครงการจัดการขยะอันตราย” จากเดิมที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลได้รับการ
การเสนอแผนให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อจัดทำแผนพัฒนาและ ประสานงานจากศูนย์อนามัยเขต 12 จังหวัดยะลาให้เป็นแกนหลักในการจัดการขยะ
การจัดสรรงบประมาณเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติในพื้นที่จริง หลังจากนั้น จึงมี อันตรายของจังหวัดสตูล หลังจากนั้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลได้ชักชวนให้
การสรุปบทเรียน และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติ หน่วยงานราชการอื่นที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วม โดยเฉพาะโรงพยาบาลขององค์กร
ตามแผนจากชุมชนท้องถิ่นเอง เพื่อการปรับปรุงแผนให้มีความเหมาะสม ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเข้ามาร่วมกันดำเนินโครงการดังกล่าวและได้รับความ
มากยิ่งขึ้น ในส่วนสุดท้ายของงานระดับพื้นที่ คือ การถ่ายทอดองค์ความรู้ สนใจจากประชาชนมากขึ้น จนทำให้นำไปสู่การต่อยอดโครงการด้วยการตั้งศูนย์เก็บ
เพื่อขยายเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนให้มีความยั่งยืน ขยะอันตรายระดับจังหวัดที่ศูนย์ซ่อมเครื่องจักรกลขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล
โดยหน้าที่ของศูนย์ดังกล่าวคือการจัดการขยะอันตรายอย่างเหมาะสมและปลอดภัย
๏ ระดับจังหวัด มีการร่วมมือกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงาน ต่อชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดสตูล สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค เป้าหมายการดำเนินการของเครือข่ายในอนาคต คือ การขยายพื้นที่ของการ
15 นักวิชาการในพื้นที่ จนสามารถขยายเครือข่ายการทำงานได้ครอบคลุม อนุรักษ์คลองให้ครอบคลุมชุมชนมากขึ้นกว่าเดิม โดยมีการวางเป้าหมายที่คลองหลัก
มากขึ้น และได้รับการคัดเลือกจากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ของจังหวัดคือ คลองดุสน คลองท่าแพ และคลองละงู นอกจากนี้ ยังมีการขยาย
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็น “จังหวัดน่าอยู่สู่สังคม โครงการการจัดการขยะอันตรายไปสู่หน่วยงานราชการอื่นมากขึ้นเพื่อการทำให้การ
สีเขียว” จัดการขยะอันตรายเป็นที่ตระหนักและสามารถจัดการได้โดยชุมชนมากกว่าเดิม
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58