Page 171 - kpi17733
P. 171
1 0 1 1
นอกจากนี้ อสม. ได้ร่วมดัดแปลงยางรถยนต์เก่าให้เป็นภาชนะปลูกสมุนไพร โดยเป็นการดำเนินงานที่มีความร่วมมือกับหลายภาคส่วน มีเครือข่ายที่เชื่อมโยง
และทีมงานกองการแพทย์ได้นำยางรถยนต์เก่ามาแปลงสภาพเป็นสนามเด็กเล่น และ กันทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคม มีการลดำเนินงานร่วมกันในรูปแบบ
ลานออกกำลังกายผู้สูงอายุ ผลสำเร็จที่ตามมา คือ อุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออก
เครือข่ายที่ชัดเจน 2 ประการ คือ
ในปี พ.ศ. 2557 ในพื้นที่ส่วนที่เทศบาลนครภูเก็ตรับผิดชอบได้ลดลงจาก 127.09 1) การบริหารจัดการศูนย์กำจัดขยะแบบศูนย์รวม
เหลือ 81.23 ต่อแสนประชากร คือ ลดลงร้อยละ 63.91
2) การลดและใช้ประโยชน์ขยะอินทรีย์
การต่อยอดของนวัตกรรม BUDDY program
การบริหารจัดการศูนย์กำจัดขยะแบบศูนย์รวม เป็นการบูรณาการระบบ
ได้ต่อยอดแนวคิด BUDDY program ไปสู่การเฝ้าระวังและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง
จากโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน และการดูแลผู้ป่วย กำจัดขยะที่ผสมผสาน โดยอาศัยเครือข่ายความร่วมมือจากภาครัฐ ส่วนกลาง ส่วน
ภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และประชาชนมีส่วนร่วม จนเป็นศูนย์กำจัดขยะที่มี
ติดเตียง ตัวอย่างเช่น
เทคโนโลยีผสมผสานสามารถกำจัดขยะชุมชนและนำความร้อนจากการเผาไปใช้ใน
๏ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสำหรับกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน
การผลิตไฟฟ้าได้กว่า 2.5 เมกะวัตต์ และพัฒนาให้เอกชนลงทุนสร้างเตาเผาขยะ
ความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วน ในปี พ.ศ. 2557 ขนาด 700 ตันต่อวัน เป็นผลสำเร็จ ซึ่งเป็นแห่งเดียวของประเทศที่จัดศูนย์กำจัดขยะ
รวมระดับจังหวัดได้ และมีการร่วมดำเนินการจากภาคส่วนต่างๆ โดยไม่มีความ
๏ โครงการตามรอยผังเครือญาติ ประกาศศึกกับเบาหวาน ปี พ.ศ. 2558
ขัดแย้ง สามารถแก้ไขปัญหาการกำจัดขยะได้ในระยะยาว ทั้งนี้ ในการบริหารจัดการ
๏ โครงการธนาคารสุขภาพ ลดพุงสะสมแต้ม ปี พ.ศ. 2559 ศูนย์กำจัดขยะจังหวัดภูเก็ต เทศบาลนครภูเก็ตบริหารงานภายใต้การกำกับดูแลของ
คณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและบำบัดน้ำเสียจังหวัดภูเก็ต ซึ่งมี
โดยเริ่มจาก อสม.ซึ่งเป็นบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ แล้วแตกหน่อขยาย
เครือข่ายไปสู่ชุมชน ให้เรียนรู้การดูแลตนเอง (Self card) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานนายก อปท. ทุกแห่ง ส่วนราชการ องค์กรเอกชน
สุขภาพ ให้ลดเสี่ยง ลดโรค เป็นกรรมการและทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเป็นเลขานุการ
จากความสำเร็จในการบริหารจัดการศูนย์กำจัดขยะแบบศูนย์รวม แต่ก็ยัง
โครงการศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวมจังหวัดภูเก็ต ไม่เพียงพอที่จะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาขยะล้นเมืองในระยะยาวได้ เนื่องจากสาเหตุ
ของปัญหายังไมได้รับการแก้ไขมากนัก ดังนั้นจึงเกิดแนวคิด การลดและใช้ประโยชน์
ปัญหาขยะล้นเมือง เป็นปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมอันดับต้นๆ ของจังหวัด ขยะอินทรีย์ อันนำมาสู่ การจัดตั้งศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีจัดการขยะอย่างยั่งยืน
ภูเก็ต การดำเนินการในการแก้ปัญหามีจุดเริ่มต้นจากเทศบาลนครภูเก็ต ร่วมกับทุก (Phuket Sustainable Waste Management Technology Transfer Center)
ท้องถิ่นในจังหวัดภูเก็ตในการจัดการขยะ โดยจัดตั้งเป็นศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และประชาสัมพันธ์ รวมทั้งปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนนำขยะ
จังหวัดภูเก็ต ซึ่งทุกหน่วยงานร่วมกันจ่ายเงินค่าจัดการขยะ มีการร่วมกันรณรงค์
อินทรีย์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ มีสถานีถ่ายทอดเทคโนโลยี ประกอบด้วย การแยกและ
ลดปริมาณขยะ ซึ่งปัจจุบันได้ขยายเครือข่ายสู่ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
วิเคราะห์องค์ประกอบขยะ การหมักปุ๋ย ถังหมักแก็ส ถังหมักขยะอินทรีย์ครัวเรือน
จนสามารถ จัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านสิ่งแวดล้อม และเป็นต้นแบบให้กับ
หมูหลุม ไส้เดือนกินขยะ ไบโอดีเซล โรงเผาขยะผลิตไฟฟ้า โรงบำบัดน้ำเสีย
หน่วยงานอื่นๆ เข้ามาศึกษาดูงาน
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58