Page 173 - kpi17733
P. 173
1 2 1
ซึ่งเป็นการลดขยะของเสีย และประชาชนที่สนใจสามารถเข้ารับการอบรมได้ตลอดปี ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 19 ท้องถิ่น และ
ปัจจุบันในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต มีศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการขยะ ไม่น้อยกว่า 10 แห่ง การลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกันระหว่างนายกเทศมนตรีนครภูเก็ตกับเครือข่าย
กระจายอยู่ทั้งพื้นที่ และมีเครือข่ายจัดการขยะโดยมูลนิธิเพื่อสิ่งแวดล้อมภูเก็ต และ ภาคประชาสังคมและประชาชนจำนวน 69 ครัวเรือน เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2557
ประชาคมพิทักษ์สิ่งแวดล้อมภูเก็ต ซึ่งได้รับอุดหนุนงบประมาณจากเทศบาลนคร ซึ่งในปัจจุบันมีผู้มาศึกษาดูงานเกี่ยวศูนย์และนวัตกรรมดังกล่าว ปีละหลายหมื่นคน
ภูเก็ต เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ศูนย์เรียนรู้เพิ่มขึ้น และขยายไปสู่การจัดเป็น เนื่องจากรัฐบาลได้ใช้เป็นรูปแบบการจัดการขยะที่เป็นต้นแบบของประเทศ
ศูนย์การเรียนรู้เพื่อขยายองค์ความรู้และเครือข่ายลงสู่ชุมชน ซึ่งปัจจุบันมี 12 ศูนย์
การเรียนรู้ และมีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ในการจัดการขยะอินทรีย์ คือ ถังหมักปุ๋ย
แบบใช้อากาศ (ไม่มีวันเต็ม)
แนวทางการจัดการขยะอินทรีย์โดยวิธีใช้ถังหมักปุ๋ยอินทรีย์แบบใช้อากาศ
(ถังไม่มีวันเต็ม) สามารถนำไปใช้กับครัวเรือน สถานประกอบการที่มีเศษอาหารเหลือ
ได้ โดยไม่มีกลิ่น และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครภูเก็ต ร่วมกับมูลนิธิ
เพื่อสิ่งแวดล้อมภูเก็ตได้คิดค้นต้นแบบถังหมักปุ๋ยอินทรีย์แบบใช้อากาศเพื่อช่วยลด
ปริมาณขยะอินทรีย์อย่างยั่งยืน ปัจจุบันมีการแจกจ่ายถังลงไปในพื้นที่ต่างๆ ได้ใช้จริง
จำนวน 210 ใบ คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวนถังทั้งหมดที่ได้ทำการผลิต (ทั้งหมด
300 ใบ)
รูปแบบ
1. เป็นถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร มีช่องใส่ขยะด้านบน และนำปุ๋ยออก
ด้านล่าง
2. มีแกนระบายอากาศ pvc เจาะรูโดยรอบ แนวตั้ง 1 แกน และแขนระบาย
อากาศ 3 แขน
วิธีการ
ใส่ใบไม้หญ้าแห้งลงไปในชั้นที่ 1 สลับกับเศษอาหาร ปิดทับด้วยใบไม้หญ้าแห้ง
ทิ้งไว้ 60 วัน จะได้ปุ๋ยอินทรีย์
ทั้งนี้ ถังหมักปุ๋ยแบบใช้อากาศ (ไม่มีวันเต็ม) ที่จัดว่าเป็นนวัตกรรมจากการ
คิดร่วมกันโดยภาคีเครือข่ายในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีจัดการขยะอย่างยั่งยืน ซึ่งมี
เทศบาลนครภูเก็ตเป็นแกนนำหลัก ทำให้เกิดการลงนามบันทึกข้อตกลงร่วมกัน
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58