Page 184 - kpi17733
P. 184
182 18
เครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการร่วมแรงร่วมใจพัฒนาบ้านเกิด และบทบาทหน้าที่ ของโครงการนี้อีกอย่างหนึ่งคือ การได้รับความร่วมมือมาจากประชาชนในพื้นที่โดย
ของแต่ละกลุ่ม องค์กรมีดังนี้ การร่วมกันคัดแยกขยะภายในครัวเรือน ผลสำเร็จจากโครงการนี้
๏ สถานศึกษาต่างๆ ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา วิทยาลัย นอกจากทำให้จำนวนขยะลดลงแล้ว ในแง่ของสุขอนามัยส่งผลให้จำนวนผู้ป่วย
สาธารณสุขสิรินธร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สถาบันพลศึกษา ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลาช่วง 3 ปี มีจำนวนลดน้อยลงกว่าเดิม โดยในปี
โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ และโรงเรียนในสังกัดเทศบาล โดยสถานศึกษา พ.ศ. 2556 มีจำนวน 68 ราย และลดลงมาเป็น 49 รายในปี พ.ศ. 2557 แล้วเหลือ
เหล่านี้ทำหน้าที่รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการ
เพียง 17 รายในปีปัจจุบัน
คัดแยกขยะ ลงพื้นที่ทำความสะอาด อบรมให้ความรู้การจัดการขยะแก่ โครงการนี้ยังทำให้เกิดเครือข่ายภาคประชาชน เครือข่ายเยาวชนและเครือข่าย
นักเรียน และทำการคัดแยกขยะในชุมชน
อาสาสมัครในการประสานความร่วมมือกับประชาชนในการดูแลพื้นที่ของตนเอง
๏ สถานีตำรวจภูธรเมืองยะลา ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกและความ ได้อย่างกว้างขวางกว่าเดิม ซึ่งก็เป็นตัวชี้วัดอย่างหนึ่งสำหรับการตอบวัตถุประสงค์
เรียบร้อยในการจัดกิจกรรมของโครงการ ของโครงการในการทำให้บ้านของตนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น อย่างไร
ก็ตาม ในแง่ของการพัฒนาโครงการในปีต่อไป เทศบาลนครยะลากำหนดเป้าหมายให้
๏ หน่วยงานราชการทางด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย กลุ่มต่างๆที่อยู่ในเครือข่ายของโครงการพัฒนางานของตนเองให้หนักแน่นกว่าเดิม
สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดยะลา สำนักงาน เช่น โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิพัฒนาโครงการธนาคารขยะในโรงเรียน เพื่อรณรงค์
สาธารณสุขจังหวัดยะลา ศูนย์อนามัยที่ 12 จังหวัดยะลา และโรงพยาบาล
ศูนย์ยะลา โดยหน่วยงานทางสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ ทำหน้าที่ ลดการใช้ถุงพลาสติก และจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน
ในการสนับสนุนบุคลากรและวัสดุทางการแพทย์ ให้ความรู้ทางวิชาการ นอกจากนี้ ในหน่วยงานราชการอย่างโรงพยาบาลศูนย์ยะลา ศูนย์อนามัยที่
เสนอแนะและให้คำปรึกษา รวมถึงคัดแยกและรับซื้อขยะรีไซเคิล 12 และวิทยาลัยพระบรมราชชนนี มีการจัดตั้งกลุ่มรับซื้อขยะรีไซเคิลในหน่วยงาน
ของตน ส่วนสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีการจัดตั้งธนาคารขยะไว้
๏ กลุ่มหญ้าแฝก ซึ่งเป็นกลุ่มที่ทำงานในพื้นที่คอยรับซื้อขยะรีไซเคิล และ
ขยายเครือข่ายรับซื้อขยะ ให้ความรู้เชิงแนะนำกับชุมชน ในขณะที่กลุ่มหญ้าแฝกซึ่งจัดการขยะอยู่แล้วนั้น มีการ
ขยายเครือข่ายลงไปสู่ชุมชนโดยวางเป้าหมายไว้ 4 แห่ง ส่วนหน่วยงานอื่นใน
๏ กลุ่มผู้ประกอบการต่างๆ โดยรวมถึงห้างร้าน บริษัท และร้านรับซื้อขยะ เครือข่ายมีการจัดกิจกรรม Big Cleaning Day เพื่อการรณรงค์ความสะอาดภายใน
และของเก่า โดยเครือข่ายเหล่านี้ลงพื้นที่ทำความสะอาด และรับซื้อขยะ ชุมชน และชุมชนในเทศบาลนครยะลาทั้ง 40 ชุมชน ถูกกำหนดให้มีการพัฒนาการ
จัดการขยะให้กว้างขวางมากขึ้นกว่าเดิม
๏ แกนนำเยาวชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และกลุ่มประชาสังคม
อื่นๆ มีบทบาทในการรณรงค์ ลงพื้นที่ และประสานงานโครงการ
การลงมือปฏิบัติของเครือข่ายที่ร่วมในโครงการนี้ นอกจากจะมีบทบาทหลัก
ในการจัดการขยะ แล้วยังมีบทบาทในการจัดการด้านอนามัยในพื้นที่สาธารณะด้วย
เช่น การทำความสะอาดถนน ทางเท้า ท่อระบายน้ำ สิ่งที่เห็นได้ว่าเป็นความสำเร็จ
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58