Page 180 - kpi17733
P. 180
1 8 1
๏ สถาบันการศึกษา ทำหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ จัดการเรียนการสอน โครงการค่ายเยาวชนสำนึกรักท้องถิ่น เสริมสร้างความสมานฉันท์
สร้างความเข้าใจให้กับเด็กและ ชุมชนเพื่อสร้างจิตสาธารณะที่เห็นแก่ สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ส่งผลกระทบความเป็นอยู่
ประโยชน์ของส่วนรวม
ของคนในพื้นที่กลุ่มต่างๆ โดยเฉพาะความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างเยาวชนที่เป็นอนาคต
ผลจากการทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายข้างต้น ทำให้เกิดรูปธรรมในด้านต่างๆ ของยะลา ประกอบกับที่ผ่านมา ประชาชนทั่วไปยังไม่ค่อยเข้าใจบทบาทของเทศบาล
ไม่ว่าจะเป็น การจัดระเบียบทางเท้าและพื้นที่สาธารณะให้ครอบคลุมถนน 10 สาย
ในฐานะที่เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีหน้าที่จัดบริการสาธารณะเป็นหลัก
ในเทศบาลนครยะลาอย่างสมบูรณ์และมีแผนจะขยายให้ครอบคลุมถนน 32 สาย
ทำให้เทศบาลนครยะลาทำโครงการค่ายเยาวชนเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนอยู่ร่วมกันได้
ในปี พ.ศ. 2559 นอกจากนี้ การจัดระเบียบพื้นที่ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ทำให้ลด ด้วยความแตกต่างทางวัฒนธรรม โดยส่งเสริมให้เยาวชนมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ
การติดตั้งป้ายในเขตหวงห้ามจนไม่มีการติดตั้งป้ายโฆษณาในพื้นที่สาธารณะได้ หน่วยงานราชการ และบทบาทหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานราชการ ทั้งนี้ก็เพื่อให้กลุ่ม
ทั้งหมด โดยป้ายโฆษณาถูกกำหนดจุดติดตั้งอย่างเป็นระเบียบ ส่วนการจัดระเบียบ เยาวชนมีข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับหน่วยงานราชการต่างๆ โดยโครงการดังกล่าว
รถเข็น รถพ่วงท้าย และแผงลอย เทศบาลนครยะลาได้กำหนดระยะเวลาและจุดผ่อน ยังปลูกฝังสำนึกรักท้องถิ่นเพื่อให้กลุ่มนี้ เยาวชนมีจิตสำนึกสาธารณะ ทำประโยชน์ให้
ผันเพื่อให้ผู้ประกอบการปรับตัวรับกับการจัดระเบียบดังกล่าวได้เป็นจำนวน 3 จุด กับสังคมของตนเอง และยังมีเป้าหมายเพื่อสร้างพื้นที่ให้กับกลุ่มเยาวชนได้ทำ
จากทั้งหมด 10 จุดของเขตเทศบาลนครยะลา ส่วนการแก้ปัญหาการก่อสร้างรุกล้ำ กิจกรรมร่วมกัน โดยหวังผลให้เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการเข้าใจบทบาทของเทศบาล
พื้นที่สาธารณะนั้น มีความยากกว่าการจัดระเบียบด้านอื่นเพราะเป็นสิ่งก่อสร้างที่มี นครยะลา และหน่วยงานราชการในพื้นที่ และมุ่งหวังให้กลุ่มเยาวชนมีความ
การลงทุนของผู้ประกอบการ จึงต้องมีวิธีการที่ไล่จากเบาไปหนัก โดยหลังจากที่ สมานฉันท์และรักบ้านเกิดของตนเอง
เทศบาลนครยะลาดำเนินการจัดระเบียบไปแล้ว จากจำนวนทั้งหมด 30 ราย มีการ โครงการนี้มีภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมขับเคลื่อนโครงการทั้งหมด 32 กลุ่ม
แจ้งให้รับทราบแล้ว 8 ราย อีก 18 รายอยู่ระหว่างการขอเวลาปรับปรุงแก้ไข ในขณะที่ ดังนี้
มี 4 รายที่ยังไม่มีการดำเนินการใดๆ จนต้องเข้าสู่ขั้นตอนของการฟ้องร้องศาล
๏ เทศบาลนครยะลา ทำหน้าที่ให้ความรู้เกี่ยวกับงานของเทศบาล โดยแบ่ง
กล่าวได้ว่า โครงการคืนยะลาให้คนยะลาใช้เครือข่ายเป็นหลักในการทำงาน หัวข้อการเรียนรู้ไปตามหน้าที่ของกองต่างๆในเทศบาลอย่างครอบคลุม
โดยมีการทำงานเพื่อการจัดระเบียบพื้นที่ในเขตเทศบาลนครยะลา และมีเป้าหมาย
เพื่อการทำให้คนยะลามีจิตสำนึกรักและหวงแหนถิ่นเกิด ในการรักษาเมืองยะลาให้
๏ สถาบันการศึกษา 23 แห่ง ประกอบไปด้วย วิทยาลัยอาชีวศึกษา และ
คนรุ่นต่อไปด้วยสภาพแวดล้อมที่ดี นอกจากเจตนารมณ์ของการฟื้นคืนความเป็น วิทยาลัยเทคนิคยะลาให้การฝึกอาชีพ และโรงเรียนในเขตเทศบาลนคร
ระเบียบเรียบร้อยของเมืองยะลาเช่นอดีตแล้ว การจัดระเบียบยังรองรับต่อการพัฒนา ยะลา และสถาบันการศึกษาอื่นในพื้นที่ทำหน้าที่คัดเลือกเยาวชนเข้ามา
ที่เป็นระเบียบเพื่อทำให้เมืองยะลาเป็นเมืองที่พัฒนาอย่างมีคุณภาพ ด้วยความท้าทาย ร่วมวางแผนดำเนินงาน
ของผู้บริหารที่ต้องการทำให้ยะลาเป็นสิงคโปร์แห่งที่ 2 ที่คนในเมืองมีความเป็น
๏ คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน ทำหน้าที่หลักในการเป็นพี่เลี้ยงและ
ระเบียบ วินัย และเคารพกฎหมาย ทั้งนี้ ก็เพื่อตอบโจทย์ของ Yala City Branding เรียนรู้ร่วมกับกลุ่มเยาวชนที่เข้ามาร่วมโครงการ
ซึ่งถือเป็นความท้าทายในแง่ของการทำให้เมืองเป็นระเบียบเรียบร้อยควบคู่กับ
๏ ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ทำหน้าที่
การพัฒนาเชิงกายภาพของเมือง และความมีวินัยของผู้คนในเมืองยะลา สนับสนุนวิทยากรและสถานที่ดูงาน เพื่อให้เยาวชนเข้าใจบทบาทหน้าที่
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58