Page 181 - kpi17733
P. 181

180                                                                                                                                                       181


                 และยุทธศาสตร์การพัฒนาของศอ.บต.                                                     ในทางเดียวกัน ผลจากการจัดโครงการนี้ขึ้นมา ทำให้ไม่มีข้อเรียกร้องที่มาจาก

        
     ๏ จังหวัดยะลาสอนเรื่องบทบาทหน้าที่และภารกิจตามยุทธศาสตร์การพัฒนา                ความไม่เข้าใจหน้าที่และบทบาทของเทศบาลนครยะลาในเวทีสาธารณะต่างๆ ของ
                 ของจังหวัดยะลา และให้เยาวชนได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริง                      เทศบาล ทั้งการพบปะประชาชนของผู้บริหารในเวทีสภาประชาชน สภากาแฟ
                                                                                              เพื่อประชาชน พบปะยามเช้า เทศบาลสัญจร ล้วนแล้วแต่ไม่มีข้อร้องเรียนปัญหาที่
        
     ๏ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ทำหน้าที่สนับสนุนวิทยากรและสถานที่               ไม่ใช่ภารกิจของเทศบาลนครยะลา นอกจากนี้ การปลูกฝังจิตสาธารณะเพื่อส่วนรวม
                 ดูงานของกลุ่มเยาวชน โดยให้กลุ่มเยาวชนร่วมดูงานการให้บริการ                   ให้กับเยาวชนยังเห็นผลที่ตามมาได้จากสาธารณสมบัติต่างๆ ได้รับการปรับปรุง

                 สาธารณสุขแก่ประชาชน                                                          ซ่อมแซมและดูแลจากกลุ่มเยาวชนอย่างต่อเนื่อง และยังทำให้เยาวชนที่ผ่านการทำ

        
     ๏ หน่วยงานทหารและตำรวจ ทำหน้าที่ในการเตรียมอุปกรณ์การดำเนินงาน                  กิจกรรมกับโครงการดังกล่าวเข้ามาทำงานในเทศบาลตามภารกิจต่างๆ ของเทศบาล
                 การสนับสนุนวิทยากร และการฝึกวินัยให้กับเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ              เป็นจำนวน 8 คน และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของเทศบาลอีก 80 คน โดยเป้าหมาย
                 เช่น สถานีตำรวจภูธรจังหวัดยะลาฝึกอบรมระเบียบวินัยจราจร  
                    ต่อไปของโครงการนี้ต้องการขยายเครือข่ายทำงานร่วมกับเยาวชนกลุ่มอื่นในพื้นที่
                 กฎระเบียบและการลงโทษ ขณะที่ค่ายอิงคยุทธบริหารสร้างความเข้าใจ  
              และการจัดตั้งองค์กรเด็กและเยาวชนในชุมชนต่างๆเพื่อสร้างแกนนำหลักทำงาน
                 การทำงานภายใต้สถานการณ์ที่แตกต่างกัน รวมถึงปลูกฝังวินัย และ                  ร่วมกับเทศบาลนครยะลาต่อไปในอนาคต
                 จิตสำนึกสาธารณะให้กับเยาวชน

        
     ๏ บ้านทักษิณและบ้านเด็กชาย ซึ่งเป็นสถานสงเคราะห์ในพื้นที่สนับสนุน               โครงการร่วมแรงร่วมใจพัฒนาบ้านเกิด
                 เรื่องการสร้างจิตสาธารณะแก่เยาวชน และการแลกเปลี่ยนความรู้  
                       โครงการร่วมแรงร่วมใจพัฒนาบ้านเกิดมาจากปัญหาสำคัญของเมืองที่มักจะมี

                 การสอนปรัชญาชีวิต และการสนับสนุนกิจกรรมระหว่างโครงการ                        จำนวนขยะเป็นจำนวนมาก อันมาจากการอุปโภคและบริโภคที่เพิ่มขึ้น ปัญหาที่ตามมา
        
     ๏ องค์กรสื่อ ทั้งสื่อวิทยุและสื่อสิ่งพิมพ์ ทำหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์          คือการจัดการขยะเหล่านั้นไม่ทันต่อปริมาณที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวัน ขยะที่มาจากการ

                 โครงการ                                                                      อุปโภคบริโภคเหล่านั้น ยังทำให้เป็นมลพิษต่อสภาพแวดล้อมและส่งผลเสียต่อภาวะ
                                                                                              สุขอนามัยของประชาชนด้วย
        
     ๏ วัด และมัสยิด ทำหน้าที่ฝึกสมาธิโดยใช้หลักการศาสนาเข้ามาขัดเกลา
                 จิตใจให้กับเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ                                                เทศบาลนครยะลาจึงได้จัดโครงการร่วมแรงร่วมใจพัฒนาบ้านเกิดด้วยการ
                                                                                              ทำงานในรูปของเครือข่ายขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 โดยมีวิธีการจัดการขยะแบบ
        
     ๏ กลุ่มประชาสังคมอื่น ทำหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์และร่วมทำความ
                 สะอาดพื้นที่สาธารณะในเขตเทศบาลนครยะลา                                        องค์รวมด้วยการคัดแยกขยะตั้งแต่แหล่งกำเนิด ซึ่งตรงกันข้ามกับการเก็บขนขยะจาก
                                                                                              แต่ละครัวเรือนมารวบรวมและจัดการโดยเทศบาลเช่นเดิม ด้วยวิธีคิดที่ต้องการสร้าง
                  จากการประเมินผลการดำเนินงานของโครงการค่ายเยาวชน พบว่า                       มูลค่าให้กับขยะด้วยการคัดแยกและนำกลับมาใช้ประโยชน์ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
        เยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจบทบาทของหน่วยงานราชการมากขึ้น  
                  สูงสุด จึงมีการทำงานแบบภาคีร่วมมือกันแบบเครือข่ายที่จะทำให้ยะลากลายเป็นเมือง
        โดยเฉลี่ยร้อยละ 88.33 จากก่อนที่จะเข้าร่วมโครงการที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 60.17   
      สะอาด โดยมีวัตถุประสงค์หลักของโครงการอยู่ 2 ประการ คือ การทำบ้านเมือง
        ซึ่งโครงการดำเนินมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ถึงปัจจุบัน                                    ให้สะอาดเรียบร้อยจากการที่จำนวนขยะและโรคระบาดลดลง และประการต่อมาคือ

                                                                                              การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการขยะ

        รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186