Page 25 - kpi17733
P. 25
2 25
สุพรรณบุรี สำรวจพบเป็นประจำทุกปีนับตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ.2546 ที่ได้รับ เมื่อ อบจ.สุพรรณบุรี เล็งเห็นถึงการร่วมผนึกกำลังของภาคประชาชนที่ริเริ่ม
การถ่ายโอนภารกิจด้านการคุ้มครอง ดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
แก้ปัญหาในเบื้องต้น อบจ. จึงเดินหน้าผลักดัน โครงการกำจัดผักตบชวาในแม่น้ำ
สิ่งแวดล้อมจากกรมชลประทาน ตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการกระจาย ท่าจีน ทั้งนี้เพื่อให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน ประหยัด
อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 นั้นคือ ปัญหาการกีดขวางของ งบประมาณ เกิดการบูรณาการร่วมกันทำงาน และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
วัชพืชทางน้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งผักตบชวาที่สามารถขยายพันธุ์และแพร่กระจายได้ จึงได้มีการหารือและเริ่มดำเนินการตามขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
อย่างรวดเร็ว ซึ่งนอกจากจะกีดขวางการสัญจรทางน้ำแล้วยังเป็นสาเหตุที่ทำให้แหล่ง
๏ การลงนามในบันทึกข้อตกลงระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กลุ่ม
น้ำเน่าเสีย สัตว์น้ำตายเป็นจำนวนมาก แม้ว่าที่ผ่านมา ประชาชนในพื้นที่จะเป็นฝ่าย อปท. อาทิ เทศบาลตำบลปากน้ำ กำนันตำบลนางบวช กลุ่มอาสาพิทักษ์
ริเริ่มกำจัดผักตบชวาด้วยวิธีของตนเองก่อน และภายหลังอบจ.สุพรรณบุรี พยายาม ลุ่มน้ำ ภาคประชาชนในพื้นที่ เป็นต้น
เข้ามาดำเนินการร่วมด้วย แต่ก็ยังไม่สามารถเอาชนะการแพร่พันธุ์ที่รวดเร็วของวัชพืช
ดังกล่าวได้ ประชาชนจำนวนมากยังประสบกับปัญหาและได้รับความเดือดร้อน
๏ ร่วมประชุมวางแผนการทำงานร่วมกันทุกภาคส่วน
แต่จากความพยายามในการแก้ปัญหาที่ผ่านมา นับตั้งแต่ปี 2546 จนกระทั่ง
๏ ลงพื้นที่ และประชุมแบ่งแนวเขตความรับผิดชอบ ที่ชัดเจนกับ อปท.
ปี 2554 เกิดผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น นั่นคือ ประชาชนในพื้นที่ทั้ง 6 อำเภอ มีการ ภาคประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ
รวมกลุ่มตั้งเป็นอาสาสมัครพิทักษ์ลุ่มน้ำ เพื่อเฝ้าระวัง อนุรักษ์ รักษา กำจัดผักตบ
๏ ดำเนินการในพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย โดยจัดให้มีการประชุมติดตาม
ชวาในลุ่มน้ำท่าจีนร่วมกัน โดยกลุ่มอาสาสมัครคัดเลือกจากตัวแทนประชาชน
ผลการดำเนินงานในทุกๆ 2 เดือน
ในระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เมื่อจัดตั้งกลุ่มอาสาฯ แล้วเริ่มดำเนินการจัดประชุม
หารือ ชี้แจงสภาพปัญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ไข โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลจากการดำเนินงานหลังจากที่ได้มีการทำบันทึกข้อตกลง มีการแบ่งเขต
การสร้างจิตสำนึกให้กับกลุ่มอาสาฯ เพื่อนำไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในพื้นที่ได้มี ความรับผิดชอบอย่างชัดเจน การร่วมกันดูแล ติดตามการดำเนินงานส่งผลให้ปริมาณ
จิตสำนึกในการอนุรักษ์ รักษา และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการเฝ้าระวัง ดูแล กำจัด
ผักตบชวาลดลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ทั้งนี้อบจ.สุพรรณบุรีก็ยังคงแสวงหาแนวทางใหม่ๆ
ผักตบชวา ผ่านการจัดกิจกรรมรณรงค์ในงานสำคัญๆ ต่างๆ อาทิ งานวันพ่อแห่งชาติ ในการกำจัดผักตบชวาอยู่เสมอ อาทิ การประสานความร่วมมือกับภาคการศึกษา
งานวันแม่แห่งชาติ เป็นต้น จนกระทั่งอบจ.สุพรรณบุรี เริ่มเห็นผลงานของกลุ่ม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน และภาคประชาชนเพื่อวางแผน
อาสาฯ ที่เป็นรูปธรรม เช่น การสกัดจุดผักตบชวาเป็นช่วงๆ ตอนๆ โดยในแต่ละช่วง การกำจัดและควบคุมวัชพืช โดยใช้วิธี Biological control ส่งผลให้ระบบนิเวศของ
จะมีสมาชิกกลุ่มอาสาฯ ในแต่ละหมู่บ้าน ชุมชนเป็นผู้ดูแล จนกระทั่งผลของการ แม่น้ำท่าจีนดีขึ้น ประชาชนสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำได้เช่นเดิม การแปรรูป
ดำเนินงานเริ่มเห็นผลในระดับหนึ่ง แต่ด้วยเพียงกำลัง (คน) ความร่วมมือจากกลุ่ม และสร้างมูลค่าเพิ่มจากผักตบชวา เป็นปุ๋ยทางการเกษตร หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ
อาสาฯ และชาวบ้านริมสองฝั่งแม่น้ำ ไม่สามารถกำจัดได้ อบจ.จึงประสานขอใช้ ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ได้
เครื่องจักร (รถเครน) จาก อบจ. เพื่อนำมาตักผักตบที่ชาวบ้านได้ระดมเข้ามามีส่วน นอกจากนี้แล้วนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรียังผลักดันให้การ
ในการสกัดในแต่ละช่วง
กำจัดผักตบชวาเป็น “วาระแห่งชาติ” ที่ไม่เพียงแต่หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเป็น
ผู้รับผิดชอบหลักเท่านั้น แต่ทุกคนไม่ว่าจะสังกัดกลุ่มองค์กรใด สามารถมีส่วนช่วย
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58