Page 28 - kpi17733
P. 28
26 2
ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแล หวงแหนลำน้ำท่าจีนเพื่อให้โครงการมีความยั่งยืน ทั้งสถานศึกษาได้รับกระแสตอบรับอย่างดีจากโรงเรียนในสังกัด 2 อำเภอข้างต้น
สามารถสร้างความสมัครสมานสามัคคี เกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุดและที่สำคัญ โดยมีครูในโรงเรียนเป็นผู้ฝึกสอน เป็นผู้ร่วมจัดการแข่งขัน โดยโรงเรียนให้การ
ประชาชนในจังหวัดสุพรรณบุรีมีความสุขกันถ้วนหน้า สนับสนุนด้านอุปกรณ์กีฬา เครื่องแต่งกาย สถานที่ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ตลอดการแข่งขัน
นอกจากนี้ยังเกิดการมีส่วนร่วมจากหลายประชาชนในหลายชุมชนที่ให้การสนับสนุน
โครงการแข่งขันฟุตบอลเยาวชน อบจ.สุพรรณบุรี ทั้งเป็นกองเชียร์ เป็นผู้ออกทุนทรัพย์สนับสนุนนักกีฬา
โครงการแข่งขันฟุตบอลเยาวชน อบจ.สุพรรณบุรี เป็นโครงการอันเกิดจาก ดังนั้น จากการดำเนินการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลในปี 2556 ซึ่งได้รับ
แนวคิดอันกว้างไกลของนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรีที่ต้องการสร้าง กระแสตอบรับจากหลายภาคส่วนอย่างดีเยี่ยมส่งผลให้การจัดการแข่งขันในปีแรก
มูลค่า สร้างโอกาสให้กับลูกหลานชาวจังหวัดสุพรรณบุรี รวมถึงต้องการพัฒนากีฬา ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี เด็กและเยาวชนมีความมุ่งมั่น พัฒนาตนเองในการ
ฟุตบอลของเด็ก เยาวชนให้ก้าวไกลไปสู่ตลาดนักกีฬาอาชีพ ให้กีฬาอยู่ในหัวใจของ ฝึกฝนเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่การคัดเลือกนักกีฬาในปีต่อไป
ชาวสุพรรณบุรี เพื่อเป้าหมายสูงสุดคือ สุพรรณบุรีเป็นแหล่งอุตสาหกรรมส่งออก
ฉะนั้นแล้วในปี 2557 อบจ.สุพรรณบุรีจึงได้จัดการแข่งขันฟุตบอลเยาวชน
นักฟุตบอล อบจ.สุพรรณบุรี เล็งเห็นถึงโอกาสที่สามารถนำกีฬามาเป็นเครื่องมือใน เป็นปีที่สอง ซึ่งในครั้งนี้ครอบคลุมทุกอำเภอของจังหวัดสุพรรณบุรี โดยแบ่งการ
การสนับสนุน ส่งเสริม และสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน แม้ประโยชน์ แข่งขันออกเป็น 2 ระดับได้แก่
ที่เห็นได้ชัดเจนจะเกิดขึ้นกับตัวนักกีฬาฟุตบอลที่สามารถสร้างชื่อเสียงโด่งดังให้กับ
ตนเองและบ้านเกิดได้ แต่อย่างไรก็ตามกีฬาฟุตบอลยังสามารถกระตุ้นและนำเอา 1) ระดับประถมศึกษา (จูเนียร์ลีก) ประกอบด้วยตัวแทนนักกีฬาจากโรงเรียน
ศักยภาพ ความสามารถของภาคส่วนต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการแข่งขัน ต่างๆ จาก 103 โรงเรียน 10 อำเภอ รวมทั้งสิ้นมี 90 ทีม
ฟุตบอล ไม่ว่าจะเป็น สถานศึกษาทั้งภาครัฐ เอกชน ชมรมผู้ปกครอง องค์กร 2) ระดับมัธยมศึกษา (ลีกคัพ) แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ 1. ระดับ
ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ ประชาชนที่ร่วมเป็นกองเชียร์ และที่สำคัญ
มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 15 ทีม 2. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลทางอ้อมที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติคือ การสร้างความสมัครสมานสามัคคี ระเบียบวินัย จำนวน 18 ทีม รวม 34 โรงเรียน ดำเนินการจัดการแข่งขันเพื่อคัดเลือก
การเคารพกฎกติกา มารยาท การเสียสละ การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อ ทีมที่ได้อันดับ 1 และ 2 ของแต่ละอำเภอเข้ามาเล่นในรอบชิงแชมป์ลีกคัพ
ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นของตนในการหมั่นฝึกฝน ทักษะความสามารถของ
นักกีฬาที่เป็นเลิศ เพื่อความมุ่งมั่นในการเป็นนักกีฬามืออาชีพตามมาตรฐานสากล ก่อนการจัดการแข่งขันจะมีการประชุมหารือร่วมกันเพื่อให้เกิดมาตรฐาน
เดียวกันในทุกแมตต์ที่มีการแข่งขัน โดย อบจ.สุพรรณบุรีจะทำหน้าที่เชิญตัวแทน
ในปี 2556 อบจ.สุพรรณบุรี ได้ริเริ่มจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลเยาวชนระดับ สถานศึกษาและชุมชนที่มาร่วมประชุมวางแผนกำหนดระยะเวลา โปรแกรมการแข่งขัน
ประถมศึกษา ในระบบลีคแบบเก็บสะสมคะแนน ซึ่งนำร่องก่อน 2 อำเภอ ได้แก่ พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการดำเนินการที่เหมาะสมร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์
อำเภอศรีประจันต์ และอำเภอดอนเจดีย์ นับได้ว่าได้รับกระแสตอบรับอย่างดีเยี่ยม สูงสุดแก่เด็กและเยาวชน
จากทั้งเด็ก เยาวชนที่หมั่นฝึกซ้อม พัฒนาทักษะความสามารถ เพื่อให้กลายเป็น
ตัวแทนนักกีฬาระดับอำเภอ ทั้งจากผู้ปกครองที่ส่งเสริม สนับสนุนทั้งทุนทรัพย์ และ สถานที่สำหรับการแข่งขันจะมีการตกลงกันว่าจะใช้สนามของโรงเรียนใด
ค่าใช้จ่ายต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ลูกหลานที่เป็นตัวแทนระดับอำเภอ
โรงเรียนหนึ่ง โดยมีตัวแทนคุณครูจากสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขตสุพรรณบุรี และ
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58