Page 49 - kpi17733
P. 49
8
โครงการศูนย์เด็กเล็กปลอดภัย จากระบบการ กัน ก่อ แก้ ที่ทุกภาคส่วนได้ร่วมกันกำหนดขึ้น เพื่อให้มีการ
ค้นหาจุดเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงด้านความปลอดภัยของเด็ก รวมทั้งระบบการเฝ้าระวังการ
เทศบาลตำบลเวียงสา ได้รับการถ่ายโอนศูนย์เด็กเล็กจากกรมศาสนา ในปี
2548 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นศูนย์ที่เน้นการดูแล เสริมสร้างพัฒนาการของ บาดเจ็บ พฤติกรรมเสี่ยง สิ่งแวดล้อมเสี่ยง และร่วมกันวางแผนการดำเนินการแก้ไข
เด็ก และเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ระบบการศึกษาในระดับประถมศึกษา โดยมี นอกจากนี้ยังได้ร่วมกันกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยสำหรับการบริหารดูแล
การกำหนดมาตรฐานการพัฒนาศูนย์ฯ ไว้ 4 ด้าน คือ ด้านบุคลากรและการบริหาร ศูนย์เด็กเล็กไว้ 6 ด้าน ได้แก่ มาตรฐานความปลอดภัยของอาคาร มาตรฐาน
จัดการ ด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ด้านวิชาการและกิจกรรม ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ มาตรฐานการเดินทางปลอดภัย มาตรฐานระบบ
ตามหลักสูตร และด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากชุมชน ที่ผ่านมาทาง ป้องกันภัยจากบุคคล มาตรฐานระบบฉุกเฉิน มาตรฐานความปลอดภัยในการจัด
ศูนย์ฯ บริหารงานภายใต้มาตรฐานที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด แต่อย่างไรก็ตาม ก็ยัง กิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งนี้เทศบาลตำบลเวียงสา ในฐานะเจ้าภาพหลักในการดูแล
พบว่ามีปัญหาอุปสรรคบางประการ ที่อาจเกิดจากการไม่ระมัดระวัง หรือไม่ละเอียด ศูนย์แห่งนี้ ได้ตระหนักถึงความยั่งยืนของการทำงาน และการทำงานอย่างเป็นระบบ
ถี่ถ้วนในการดำเนินงาน อาทิ ในปี 2555 เกิดอุบัติเหตุทางรถจักรยานยนต์ อันเนื่อง จึงหารือร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และได้ร่วมกันจัดตั้งคณะทำงาน ประกอบด้วย
มาจากผู้ปกครองและเด็กไม่สวมหมวกนิรภัย จึงทำให้ผู้ปกครองเสียชีวิต และเด็ก ผู้บริหารเทศบาล, คณะกรรมการศูนย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา, ตัวแทน
นักเรียนได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย ผู้ปกครอง, ครูทุกคน, เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลเวียงสา และเจ้าหน้าที่สถานีตำรวจภูธร
เวียงสา โดยมีวาระในการดำรงตำแหน่ง 1 ปี เพื่อทำหน้าที่ในการวิเคราะห์ วางแผน
ผลจากอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจึงทำให้หลายฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย คณะกรรมการ
การดำเนินงาน ป้องกันระวังรักษา กำกับ ดูแลติดตาม ประเมินผล พร้อมทั้ง
สถานศึกษา ผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง เทศบาลตำบลเวียงสา ได้ประชุมปรึกษา ทำหน้าที่ในการดึงชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานศูนย์ฯ ให้มากที่สุด
หารือเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไข ป้องกันระวังภัย หรือความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นได้
เพื่อให้เกิดการสร้างและขยายผลเครือข่ายแกนนำในทุกภาคส่วน
ในอนาคต หลังการประชุมจึงได้กำหนดแนวทางในการดำเนินงานสร้างเสริมความ
ปลอดภัยขึ้น โดยมีความจำเป็นต้องทำทั้งระบบคือ “การ ก่อ กัน แก้” การดำเนินงานของศูนย์เด็กปลอดภัย มีขั้นตอนดังนี้
1. จัดให้มีการประชุม หารือ วางแผน ดำเนินงานในการวิเคราะห์ สรุปผล
๏
การก่อ คือ การก่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงปัญหา
หรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นด้วยการสื่อสารให้ข้อมูล ความรู้ต่างๆ แก่กลุ่ม
การดำเนินงานร่วมกันระหว่างคณะทำงานศูนย์ฯ กับผู้ปกครอง เพื่อรับฟัง
เป้าหมาย ความคิดเห็นข้อเสนอแนะ รวมถึงมีการจัดทำข้อตกลงร่วมกันในการ
ดำเนินการตามมาตรฐานความปลอดภัยทั้ง 6 ด้าน โดยคณะทำงานฯ
๏ การกัน คือ การป้องกันปัญหาไม่ให้เกิดขึ้น โดยการร่วมกันสอดส่องดูแล จะต้องร่วมกับ ผู้ปกครอง คณะครู และเด็กเล็ก ในการสำรวจจุดเสี่ยง
เหตุปัจจัยต่างๆที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย ได้แก่ สิ่งแวดล้อม ทั้งที่บ้าน ชุมชน และในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการ
พฤติกรรม หรือผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตลอดจนการมีความรู้และทักษะในการ สร้างมาตรการการสวมใส่หมวกเพื่อสร้างวินัย และความรับผิดชอบกรณี
ป้องกันภัยต่างๆ ไม่ปฏิบัติตามกฎกติการ่วมกัน
๏
การแก้ คือ การแก้ไขเหตุปัจจัยต่างๆ ที่ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัย ได้แก่ 2. เทศบาลตำบลเวียงสา ให้การสนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงภูมิทัศน์
การปรับสภาพแวดล้อม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เป็นต้น เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ / ตามความปลอดภัย จึงได้จัดทำป้ายจราจร
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58