Page 46 - kpi17733
P. 46

5


 เทศบาลตำบลเวียงสา เป็นเทศบาลขนาดเล็กที่มีจุดเด่นด้านต้นทุนทาง  โครงการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเวียงสา
 วัฒนธรรม ที่สามารถนำมาเป็นจุดศูนย์กลางความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ   พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเวียงสา เป็นอาคารไม้ที่เหลือเพียงแห่งเดียว

 ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทั้งชุมชน สังคมได้เป็นอย่างดี สำหรับแนวคิด หลักการ 
  ในจังหวัดน่าน ที่คงสภาพเดิมได้สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
 ในการบริหารงานของเทศบาลตำบลเวียงสานั้น ประกอบด้วย 7 แนวคิดดังนี้
          และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้เคยเสด็จเยี่ยมราษฎรในภาคเหนือ และ
       1.  ยึดแนวทางการบริหารงานระบบประชาธิปไตย   พระองค์ได้เสด็จประทับ ณ บริเวณหน้ามุขชั้น 2 ของที่ว่าการอำเภอสา เมื่อคราว
          วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2501 ถือเป็น “รอยประทับแรกของจังหวัดน่าน”
       2.  นำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ให้เกิดอย่างเป็นรูปธรรม
                อาคารไม้หลังนี้ เป็นทั้งสถานที่ปฏิบัติราชการของเทศบาลตำบลเวียงสา เป็น
       3.  มุ่งสร้างการเมืองใหม่ ตามนโยบาย “ซื่อสัตย์ เป็นธรรม โปร่งใส   
  พิพิธภัณฑ์ และเป็นที่เก็บรักษาภาพพระราชกรณียกิจ ตลอดจนเก็บรักษาวัตถุสิ่งของ
 ไม่คอร์รัปชั่น”
          เครื่องใช้แบบโบราณ เพื่อสามารถใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนั้น
       4.  ให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมดำเนินงานทุกขั้นตอน ภายใต้แนวคิด “ร่วมคิด   เทศบาลตำบลเวียงสาจึงมีแนวคิดในการอนุรักษ์อาคารไม้ซึ่งเหลือเพียงแห่งเดียวใน
 ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา ร่วมเป็นเจ้าของ”    จังหวัดน่านนั้น เทศบาลฯ จึงได้เรียนเชิญทุกภาคส่วน ทุกกลุ่ม ทุกองค์กร ในเขต
          อำเภอเวียงสา ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเวียงสา สภา
       5.  สร้างความเป็นมืออาชีพให้กับบุคลากรทุกคนในองค์กร เพื่อการบริหารงาน

 ที่มีประสิทธิภาพ   วัฒนธรรมอำเภอเวียงสา วัฒนธรรมอำเภอเวียงสา กำนันผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มฮักเมือง
          เวียงสา มาประชุม หารือร่วมกันถึงแนวทางการทำงานให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน
       6.  คณะผู้บริหาร เป็นแบบอย่างที่ดี สร้างความศรัทธา เชื่อถือไว้วางใจแก่  ซึ่งมติที่ประชุมเห็นว่า ควรจัดให้มีนิทรรศการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เพื่อให้เป็นแหล่ง
 บุคลากร และประชาชน   เรียนรู้ เป็นอนุสรณ์สถานอาคารประวัติศาสตร์ ศิลปะล้านนาอันทรงคุณค่าให้คงอยู่
          สืบไป จึงมีการดำเนินการ ดังนี้
       7.  นำความคิดนอกกรอบของภาคเอกชนมาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มคุณภาพ
 ประสิทธิภาพของงาน      1.  ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ กิจกรรมดังกล่าวไปยังส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ
                   องค์กร ชมรม ชุมชนต่าง ๆ เพื่อให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง
 จาก 7 หลักการบริหารงานข้างต้น เพื่อก้าวสู่การเป็นเมืองน่าอยู่ คนในสังคม
 อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความมุ่งมั่นในการทำงานที่เปิดโอกาสให้ภาค  พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเวียงสารวมถึงให้องค์กรทุกภาคส่วนที่มี
                   สิ่งของ หรือวัตถุโบราณต่างๆ ซึ่งต้องการเก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ก็สามารถ
 ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานตามเจตนารมณ์ของประชาชนอย่าง
 แท้จริง รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์อันดีให้เกิดขึ้นระหว่างองค์กรกับประชาชน   
  นำมาบริจาคได้
 เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อปัญหา ความต้องการ ได้ทันต่อสถานการณ์ภายใต้     2.  แต่งตั้งคณะกรรมการ ออกเป็น 5 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายจัดเตรียมสถานที่,
 ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เพื่อมุ่งเน้นประโยชน์สูงสุด นั้นคือ ประชาชน    ฝ่ายจัดหาวัตถุ สิ่งของ เครื่องใช้,ฝ่ายประชาสัมพันธ์, ฝ่ายทะเบียนข้อมูล

                   วัตถุ สิ่งของ,ฝ่ายเก็บรักษาสิ่งของ เป็นต้น
 สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านความโปร่งใส
 และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ของเทศบาลตำบลเวียงสา ได้แก่


 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51