Page 55 - kpi17733
P. 55
5 55
เทศบาลตำบลเกาะคา ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ กำไร ให้แบ่งส่วนหนึ่งเป็นสวัสดิการสังคม อาทิ เครือข่ายกลุ่มอาชีพ กลุ่ม
ประชาชนดังนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่นที่ว่า “ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม ดอกไม้ประดิษฐ์ กลุ่มผ้ามัดย้อม กลุ่มข้าวแต๋น ฯลฯ 6) ระบบการจัดการ
ทางการเมืองของประชาชนทุกระดับ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม สิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ อาทิ การคัดแยกขยะ ธนาคารขยะ กลุ่ม
ตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมวางแผน ร่วมตัดสินใจ และร่วมดำเนินงาน เพื่อให้ เลี้ยงไส้เดือนเพื่อกำจัดขยะเปียก ศูนย์เรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ประชาชนเกิดจิตสำนึกสาธารณะ รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของท้องถิ่น และพัฒนา
โรงเรียน ตู้เย็นในสวน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
ท้องถิ่นไปสู่เป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ เกาะคาเมืองน่าอยู่”
ฯลฯ
ทั้งนี้ เทศบาลตำบลเกาะคา มีกระบวนการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของ
๏ การจัดให้มีระบบการบริหารงานภายในองค์กรที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนอย่างเป็นระบบ กล่าวคือ ประชาชน ได้แก่ ระบบการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และระบบ
การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างเทศบาลและชุมชน
๏ การจัดให้มีเวทีสาธารณะในการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน จำนวน
2 เวที ได้แก่ 1) เวทีข่วงผญ๋า เป็นเวทีในการพูดคุยกันของคนในชุมชน ขณะเดียวกัน เทศบาลตำบลเกาะคา ก็ให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับการบริหาร
ซึ่งมีนักวิจัยชุมชนเป็นผู้นำกระบวนการหรือผู้ดำเนินการพูดคุย และ
งานด้วยความโปร่งใส เพราะเชื่อว่า การบริหารงานด้วยความโปร่งใสนำมาซึ่งความไว้
2) เวทีประชาคม เป็นเวทีในการพูดคุยกันระหว่างเทศบาลและชุมชน
วางใจ และจะช่วยหนุนเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ดังนั้น เทศบาล
ซึ่งมีเทศบาลเป็นผู้นำกระบวนการหรือผู้ดำเนินการพูดคุย ทั้งสองเวทีนี้ จึงเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานในด้านต่างๆ ให้ประชาชนทราบ มีการจัดช่องทางใน
ทำให้ประชาชนได้เข้ามาพูดคุย แสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ปัญหาและ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย และทำการเผยแพร่
ความต้องการ ค้นหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา/แนวทางในการพัฒนา ข้อมูลข่าวสารเป็นประจำสม่ำเสมอ เทศบาลเชื่อว่า เมื่อประชาชนเข้าถึงข้อมูล
และจัดทำแผนชุมชนตลอดจนแผนพัฒนาท้องถิ่นร่วมกัน การทำงานของเทศบาล การตรวจสอบการทำงานของเทศบาลย่อมเกิดขึ้น อีกทั้ง
เทศบาลยังส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามาตรวจสอบการทำงานของเทศบาลโดยแต่งตั้ง
๏ การจัดให้มีระบบการพัฒนาท้องถิ่นในมิติต่างๆ มากถึง 6 ระบบ โดยให้ เป็นคณะกรรมการในรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้ นอกจากความโปร่งใสในระดับองค์กรแล้ว
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ได้แก่ 1) ระบบส่งเสริมการเรียนรู้
และเปิดพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อชุมชน อาทิ ศูนย์เรียนรู้ในทุกชุมชน ศูนย์กีฬา เทศบาลยังมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกระดับ ได้แก่ ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น
และข้าราชการท้องถิ่น บริหารงานด้วยความโปร่งใส โดยมีการทำมาตรฐานด้าน
เทศบาล ฯลฯ 2) ระบบสุขภาพชุมชน: สุขภาพกาย ใจ และปัญญา อาทิ
ศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพ อาสาสมัครดูแลสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียน จริยธรรมและคุณธรรมของบุคลากรภายในเทศบาล
ผู้สูงอายุ ฯลฯ 3) ระบบการจัดการสังคม คือ การสร้างจิตอาสาให้ดูแล สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านความโปร่งใส
ชุมชน อาทิ เครือข่ายคุ้มครองเด็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัว คณะกรรมการ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ของเทศบาลตำบลเกาะคา ได้แก่
พัฒนาสตรี ศูนย์รับแจ้งเหตุเด็กและสตรี ฯลฯ 4) ระบบภูมิปัญญาท้องถิ่น
อาทิ กลุ่มจุมสะหรีเกาะคา กลุ่มดนตรีพื้นเมือง กลุ่มกลองปะหลดปลด
กลุ่มงานหัตถกรรมผู้สูงอายุ กลุ่มทำบายศรี ฯลฯ 5) ระบบเศรษฐกิจ
ชุมชน มุ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีอาชีพ มีรายได้เลี้ยงตนเอง และหากมี
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58