Page 59 - kpi17733
P. 59
58 5
ห่วงใย วัยใสไร้มลพิษ และโครงการเยาวชนวัยใสเข้าใจเอดส์ เป็นต้น ศูนย์ได้ผสาน โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเกาะคา
ความร่วมมือกับสองภาคีเครือข่ายที่สำคัญ คือ 1) เครือข่ายคุ้มครองเด็กและ เทศบาลตำบลเกาะคา ได้ศึกษาโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุในพื้นที่ และ
ครอบครัว เพื่อร่วมกันให้การสงเคราะห์เด็กเป็นรายกรณี ไม่ว่าจะเป็นการให้คำ พบว่า ในปี 2557 ผู้สูงอายุมีจำนวนรวมมากถึง 1,216 คน จากประชากรทั้งหมด
แนะนำ การเยี่ยมบ้าน และการให้ทุนการศึกษา และ 2) ศูนย์รับแจ้งเหตุเด็กและ ในพื้นที่ จำนวนรวม 4,756 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 25.56 ของประชากรทั้งหมด
สตรี เพื่อร่วมกันให้ความช่วยเหลือ ฟื้นฟู และเยียวยาเด็กและสตรีที่ถูกกระทำด้วย กล่าวได้ว่า พื้นที่เทศบาลตำบลเกาะคาได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ซึ่งจำเป็นต้องมี
ความรุนแรง สำหรับกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ศูนย์จัดโครงการบ้านสานฝันปันรัก หรือมอบ การเตรียมความพร้อมในการจัดให้บริการสาธารณะสำหรับประชากรกลุ่มนี้
วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างบ้าน, ออกเยี่ยมผู้ด้อยโอกาสเพื่อให้กำลังใจ และการ
โดยเฉพาะการดูแลสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้วยเหตุนี้ ชมรมผู้สูงอายุ
ทอดผ้าป่าขยะ เพื่อนำขยะไปขายเป็นรายได้ และนำรายได้มาใช้เป็นงบประมาณ
ตำบลเกาะคา ร่วมกับเทศบาลตำบลเกาะคา จึงได้จัดทำโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ
ในการจัดสวัสดิการ
ตำบลเกาะคา
กล่าวได่ว่า การดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวอาศัยกระบวนการที่ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเกาะคา เป็นการจัดการศึกษานอกระบบ ที่ส่งเสริมให้
สำคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1) กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันครอบครัว ผู้สูงอายุเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองให้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้ง
2) กระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ถึงสถานการณ์ปัญหาสังคม 3) กระบวนการแก้ไข ยังเป็นพื้นที่ในการทำกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีปฏิสัมพันธ์กัน
ปัญหาครอบครัวอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง และ 4) กระบวนการบริหารจัดการโดย มีโอกาสเข้าสังคม และรู้จักปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งทางร่างกาย จิตใจ
คนในชุมชน
และสังคม
โครงการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่นสู่สังคมเข้มแข็งช่วยให้สถาบันครอบครัว
ในปี 2557 เทศบาลตำบลเกาะคา ได้แต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา
ในพื้นที่มีความเข้มแข็งมากขึ้น โดยสมาชิกภายในครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเกาะคาอย่างเป็นทางการ โดยมีผู้บริหารและปลัดของเทศบาล
ของสถาบันครอบครัว รู้เท่าทันและเฝ้าระวังปัญหาครอบครัวที่อาจเกิดขึ้น สร้างความ ตำบลเกาะคาดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการและรองผู้อำนวยการ ขณะที่ ประธาน
สัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันโดยใช้ความรัก ความเข้าใจ และความผูกพัน มีการสื่อสาร และกรรมการของชมรมผู้สูงอายุดำรงตำแหน่งเป็นคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ใน
ระหว่างกันมากขึ้น ใช้หลักคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน และ โรงเรียน ทั้งนี้ โรงเรียนได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกัน
ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อครอบครัว จากครอบครัวที่เข้มแข็งเพียง สุขภาพของเทศบาลตำบลเกาะคา รวมทั้ง ใช้ห้องประชุมของเทศบาลเป็นสถานที่
ครอบครัวเดียว เมื่อรวมพลังกับครอบครัวที่เข้มแข็งอื่นๆ ย่อมนำไปสู่สังคมที่เข้มแข็ง ในการเรียนการสอน
มากขึ้น เป็นสังคมที่มีภูมิต้านทานต่อภัยสังคมที่อาจเกิดขึ้นโดยเฉพาะต่อเด็กและ
เยาวชนที่จะเป็นอนาคตของชาติต่อไป นอกจากนี้ การจัดทำโครงการเสริมสร้าง หลักสูตรการศึกษาเป็นระบบ 1 ปี แบ่งออกเป็น 2 ภาคเรียน ภาคเรียนละ
ครอบครัวอบอุ่นสู่สังคมเข้มแข็งยังช่วยเติมเต็มให้การดำเนินงานด้านสังคมในพื้นที่ 3 เดือน ซึ่งเรียนเป็นประจำในทุกวันพุธสัปดาห์แรกและสัปดาห์ที่สามของเดือน
ครอบคลุมประชากรทุกกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น ทั้งสถาบันครอบครัว เด็ก สตรี
ในเวลา 9.00-15.00 น. สำหรับหัวข้อในการเรียนการสอนมาจากการระดมความเห็น
ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ยากไร้ กลายเป็นสังคมที่ไม่ทอดทิ้งประชากรกลุ่มใด และความต้องการของผู้สูงอายุในที่ประชุม ซึ่งโรงเรียนได้จัดให้มีการเรียนการสอน
กลุ่มหนึ่ง หรือที่ชาวเกาะคาเรียกว่า “สังคมชาวเกาะคาไม่ทอดทิ้งกัน” ในหัวข้อตามที่ผู้สูงอายุได้ตกลงกันไว้ รวมถึงหัวข้อที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุด้วย
ยกตัวอย่างเช่น
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58