Page 58 - kpi17733
P. 58

56                                                                         5


 โครงการเสริมสร้างครอบครัวอบอุ่นสู่สังคมเข้มแข็งเพื่อมุ่งสู่สังคมชาวเกาะคา  ศูนย์และเทศบาลจึงใช้เวทีข่วงผญ๋าระดมความคิดเห็นของคนในชุมชน อาทิ แกนนำ

 ไม่ทอดทิ้งกัน   ชุมชน กลุ่มแม่บ้าน และผู้สูงอายุ เป็นต้น เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาสังคมในพื้นที่อย่าง
          ยั่งยืน จากการพูดคุยกันในเวทีทำให้เกิดเป็นแผนชุมชนในการสร้างสถาบันครอบครัว
 จากสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตำบลเกาะคา อาทิ การมีเด็กที่มี
 สภาพความเป็นอยู่ยากลำบากอันเนื่องมาจากพ่อแม่มีฐานะยากจนหรือพ่อแม่หย่าร้าง  ที่เข้มแข็งอย่างต่อเนื่อง
 กัน มีความขัดแย้งหรือการใช้ความรุนแรงภายในครอบครัว มีความไม่เข้าใจกัน  จากการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในขณะนั้นทำให้พบข้อมูล
 ภายในครอบครัวอันเกิดจากช่องว่างระหว่างวัย การมีผู้พิการและผู้ติดเชื้อเอชไอวี  
  เพิ่มเติมว่า ยังมีผู้สูงอายุในพื้นที่ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เท่าที่ควร และผู้ด้อยโอกาส
 ในพื้นที่ และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นต้น ในปี 2550 เทศบาลตำบลเกาะคา  
  ยังมีคุณภาพชีวิตที่ไม่ดี ศูนย์จึงขยายกิจกรรมครอบคลุมไปยังประชากรกลุ่มนี้มากขึ้น

 จึงได้จัดประชุมร่วมกับกลุ่มพัฒนาสตรีประจำหมู่บ้านเพื่อหาทางแก้ไขปัญหาสังคม  
  โดยจัดให้สมาชิกภายในครอบครัวมีกิจกรรมทำร่วมกัน รณรงค์ให้วันอาทิตย์เป็น
 ดังกล่าว และได้ข้อสรุปร่วมกันว่า การแก้ไขปัญหาสังคมควรเริ่มต้นที่สถาบัน  วันครอบครัว และมีการเยี่ยมผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น จากนั้นในช่วงปี 2553-2558
 ครอบครัว เพราะสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งย่อมนำไปสู่สังคมที่เข้มแข็ง จากนั้น   ศูนย์ได้ขยายการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายที่หลากหลายมากขึ้น อาทิ ศูนย์
 เทศบาลจึงเริ่มจัดกิจกรรมค่ายครอบครัวเข้มแข็ง ซึ่งส่งผลให้เกิดกลุ่มจิตอาสา  
  สวัสดิการผู้สูงอายุ, มูลนิธิเพื่อการสาธารณสุขตำบลเกาะคา, เครือข่ายคุ้มครองเด็ก,
 ในการทำงานด้านนี้    เครือข่ายกลุ่มอาชีพ, อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส, ศูนย์รับ

          แจ้งเด็กและสตรี และสภาเด็กและเยาวชน เป็นต้น เพื่อส่งเสริมให้เกิดครอบครัว
 เทศบาลตำบลเกาะคา และสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 จังหวัดลำปาง ได้ร่วมกันรับสมัครผู้มีจิตอาสาจากทุกชุมชน มีการนำข้อมูลครอบครัว  เข้มแข็งในทุกชุมชน และจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ครอบครัวเข้มแข็งขึ้นในชุมชนที่มีความ
 ที่มีปัญหามาใช้เป็นจุดสร้างความตระหนักให้เกิดจิตอาสา ส่งเสริมให้จิตอาสารวมตัว  พร้อม
 กันทำงาน จัดทำข้อมูล จัดกิจกรรม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน จนนำไปสู่การจัด  ปัจจุบัน ศูนย์พัฒนาครอบครัวได้รับการสนับสนุนทางด้านสถานที่จากเทศบาล
 ตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัว     ให้ตั้งอยู่ ณ สำนักงานเทศบาลตำบลเกาะคา ชั้น 2 ห้องงานพัฒนาชุมชน และยังได้
          รับการสนับสนุนงบประมาณจากหลายหน่วยงาน อาทิ เทศบาลตำบลเกาะคา
 การจัดตั้งศูนย์พัฒนาครอบครัวมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี

 ความรัก ความเข้าใจ ภายในครอบครัว และเป็นศูนย์กลางในการเฝ้าระวัง ป้องกัน   สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดลำปาง และศูนย์พัฒนาสังคม
 และแก้ไขปัญหาครอบครัว พร้อมทั้ง สร้างเครือข่ายครอบครัวที่เข้มแข็งให้เกิดขึ้น  หน่วยที่ 51 เป็นต้น
 ภายในพื้นที่ เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันหรือเกราะป้องกันปัญหาทางสังคม ทั้งนี้ ศูนย์มีระบบ  ศูนย์พัฒนาครอบครัวเริ่มต้นทำกิจกรรมด้วยการสร้างครอบครัวต้นแบบ
 การบริหารจัดการในรูปแบบของคณะกรรมการศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน โดย  จากครอบครัวอาสาสมัคร และจัดทำกิจกรรมอื่นๆ อาทิ คณะกรรมการหมู่บ้าน
 อยู่ภายใต้การดูแลและสนับสนุนจากเทศบาล คณะกรรมการได้รับการคัดเลือกมา  ประสานงานขอความช่วยเหลือให้แก่ครอบครัวที่มีปัญหา และการออกเยี่ยม

 จากบุคคลที่มีจิตอาสา มีความเสียสละ และทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม    ครอบครัวที่มีปัญหา เป็นต้น นอกจากนี้ ศูนย์ยังได้ขยายกิจกรรมครอบคลุมไปยัง
          กลุ่มเด็กและเยาวชน สตรี และผู้ด้อยโอกาส สำหรับกลุ่มเด็กและเยาวชน ศูนย์จัดให้
 ในปี 2551 ศูนย์พัฒนาครอบครัวได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก
 สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวเพื่อขยายกิจกรรมในการดำเนินงาน   
  มีกิจกรรมสร้างสรรค์ อาทิ โครงการส่งเสริมศิลปะ ดนตรี กีฬา สำหรับเด็กและ
          เยาวชน, ค่ายเสริมทักษะชีวิต, ค่ายสานฝันปันรัก, โครงการครอบครัวอบอุ่น ชุมชน


 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63