Page 522 - kpi17968
P. 522

511



                      หลักธรรมที่ใช้ในการปลุกจิตสำนึก



                         หลักธรรมที่ใช้ในการส่งเสริม (บ่มอบรม)ในเบื้องต้น เพื่อปลุกจิตย้อมใจ
                   ของประชาชนในฐานะเป็นพลเมืองเพื่อที่จะให้ได้พลเมืองที่มีคุณภาพอย่างแท้จริง
                         1)  หลักโยนิโสมนสิการ

                         2)  หลักอริยมรรคมีองค์ 8
                         3)  หลักอคติ 4
                         4)  หลักพรหมวิหาร 4

                         5)  หลักอิทธิบาท 4
                         6)  หลักกุศลมูลอกุศลมูล
                         7)  กฎพระไตรลักษณ์

                         8)  หลักโลกธรรม 8
                         9)  หลักอปริหานิยธรรม 7
                         เหล่านี้เป็นต้น


                       บ  ร ป ละ     น  นะ



                         พระพุทธศาสนาได้กล่าวถึงหลักธรรมที่สำคัญอีกประเภทหนึ่งที่ผู้ปกครอง
                   จะต้องมีคือ (อาชชะวัง) คือความซื่อตรง หรือความสัจจริง กล่าวคือผู้นำหรือ
                   ผู้ปกครองจะต้องเป็นแบบอย่างในด้านความประพฤติ เพื่อที่จะให้ผู้ที่อยู่ภายใต้

                   องค์กรนั้นเห็นเป็นแบบอย่าง โดยให้มีความประพฤติที่เสมอกันและเป็นแนว
                   เดียวกันเพื่อที่จะให้เกิดความสงบสุขในหมู่คณะ ซึ่งในพระพุทธศาสนาได้จัดการ
                   รักษาสัตย์ไว้ในศีลเป็นองค์ที่ 5 แห่งเบญจศีล ในธรรมจริยา ส่วนวจีสุจริตเป็นองค์
                   ต้น และเป็นองค์ที่สองแห่งอัฏฐังคิกมรรค โดยนัยนี้ชนผู้ขาดความสัตย์จักเป็นผู้มี

                   ศีล จักเป็นธรรมจารี จักเป็นอารยะบุคคลหาได้ไม่  สัจจะ คือความซื่อสัตย์สุจริต
                                                              12
                   หลักความจริงที่มนุษย์ในระดับต่างๆ ควรจะต้องประพฤติและปฏิบัติด้วยความ

                   จริงใจ อย่างตรงไปตรงมาแม้กับตัวเองและผู้อื่น




                      12   สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, วินัยมุขเล่ม 1, (กรุงเทพมหานคร
                   : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2522), หน้า 19.





                                                                 บทความที่ผานการพิจารณา
   517   518   519   520   521   522   523   524   525   526   527