Page 142 - kpi20109
P. 142

1 0                                                                                                                                                       1 1


              องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา เน้นการบริหารงานที่ตอบโจทย์วิสัยทัศน์ที่ “เป็นองค์กร  ขยายผล โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ร่วมกับภาครัฐ เอกชน ชุมชน จัดหาที่ดินว่างเปล่า
        แห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเป็นหน่วยงานที่เชื่อมโยง สร้างเครือข่าย สร้างความร่วมมือ  ทำแปลงเกษตรผสมผสานและพัฒนาแหล่งน้ำให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเพียงพอ
        ระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน” ซึ่งวิสัยทัศน์ดังกล่าวสะท้อนถึง         ทางองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาจึงวางแผนแบบระยะยาว โดยเริ่มต้นด้วยการปรับปรุง
        ระบบการบริหารงานแบบบูรณาการร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่และนอกพื้นที่ เน้นการเปิดพื้นที่และ  พื้นที่รกร้างกำจัดวัชพืชผักตบชวาในแหล่งน้ำในพื้นที่สาธารณะให้เกิดประโยชน์ (อ่างเก็บน้ำ

        สร้างโอกาสให้ทุกฝ่ายเข้ามาเติมเต็มองค์ความรู้ที่ยังขาดแก่ตำบลข่วงเปา รวมทั้งการช่วยสนับสนุน  หนองปุ๊) ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2560 ซึ่งการปรับปรุงและกำจัดผักตบชวาในอ่างเก็บน้ำดังกล่าว
        การทำงานของภาคีเครือข่ายให้สะดวกและคล่องตัวมากขึ้น มีการใช้หลักการ “5 ร-2 ใจ” ร่วมคิด
        ร่วมมือ ร่วมทำ ร่วมติดตาม ร่วมเป็นเจ้าของและให้ความจริงใจ สร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน  ทำให้ได้รับคัดเลือกเป็นตำบลต้นแบบโครงการกำจัดวัชพืช ผักตบชวาในแหล่งน้ำของอำเภอ
                                                                                              จอมทอง ผลจากการพัฒนาอ่างเก็บน้ำเกิดเป็นแนวคิดและการสร้างประโยชน์จากผักตบชวา
        จนเกิดเป็นความเต็มใจและพร้อมร่วมเรียนรู้ถ่ายทอดประสบการณ์ระหว่างกันได้ นอกจากนี้      และสานต่อเป็นโครงการต่อเนื่องหลากหลายโครงการ อาทิ การทำปุ๋ยอินทรีย์ด้วยผักตบชวา
        ผู้บริหารและบุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปายังมีศาสตร์และศิลป์ที่จะหลอมรวม     ให้ชุมชนผ่านการสนับสนุนมูลสัตว์ในการจัดทำปุ๋ยจากภาคเอกชน การปรับปรุงภูมิทัศน์รอบบริเวณ

        ความรู้และภาคีเครือข่ายที่สมัครใจให้เข้ามาทำกิจกรรมเพื่อสร้างชุมชนข่วงเปาที่เข้มแข็งและยั่งยืน
                                                                                              พื้นที่สาธารณะ การก่อสร้างอาคารศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พระราชา การก่อสร้างโรงเรือนปศุสัตว์
              การบริหารเช่นนี้จึงเป็นความโดดเด่นขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา โดยเฉพาะ      แปลงสาธิตเกษตรอินทรีย์ สวนผักคนเมือง จนกระทั่งกลายเป็นศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียง
        อย่างยิ่งองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาดำเนินการจัดระเบียบโครงสร้างเครือข่ายต่างๆ ให้มี     ตามศาสตร์พระราชาตำบลข่วงเปาเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ในศาสตร์เศรษฐกิจพอเพียง
        ความเหมาะสมกับปัญหาที่เกิดขึ้นและต้องอยู่ภายใต้พื้นฐานของความเคารพสิทธิ เชื่อถือ เอื้ออาทร   จากแนวคิดดังกล่าวองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาและภาคีเครือข่ายจึงร่วมกันเน้นให้
        ซึ่งกันและกัน ประกอบกับการเป็นศูนย์กลางเพื่อการประสานงานให้แก่เครือข่ายจนปรากฏผลงาน   ศูนย์สาธิตฯ เป็นศูนย์ครบวงจรอย่างยั่งยืนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เน้นการบริหารงาน

        ความสำเร็จผ่านโครงการในพื้นที่อย่างชัดเจน                                             เรื่องการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                                              ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช น้อมนำไปสู่การปฏิบัติ มีการร่วมกันขับเคลื่อนอย่างเป็นรูปธรรม
              สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ
        ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา      มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและน้อมนำศาสตร์พระราชาไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดผลอย่างเป็น
                                                                                              รูปธรรมและสร้างเครือข่ายชุมชนการน้อมนำศาสตร์พระราชาไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
        ได้แก่
                                                                                              อย่างยั่งยืน
        ศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชาตำบลข่วงเปา
                                                                                                    การพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่รกร้างดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงทิศทางการพัฒนาชุมชน
              ปัญหาสภาพพื้นที่ของตำบลข่วงเปาที่เป็นที่ราบเชิงเขา มักจะประสบปัญหาดินและน้ำท่วม  แบบเชิงรุกและวางกรอบแนวคิดที่ตอบโจทย์ของชุมชนในระยะยาว การจัดตั้งศูนย์สาธิตฯ

        และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพอันเนื่องมาจากการขยายตัวของชุมชนอย่างรวดเร็ว        มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน
        และการบุกรุกพื้นที่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าจะมีการทำแผนชุมชนป้องกันปัญหาในลักษณะนี้  พลังงานทดแทนและการปศุสัตว์สสยึดแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและหลักการทรงงาน
        มาแล้วก็ตามก็ยังพบว่าไม่สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องดินและน้ำท่วมได้อย่างยั่งยืน เป็นเพียง     “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ รวมทั้งเป็นโรงเรียนชุมชนด้านเกษตรอินทรีย์
        การแก้ไขปัญหาระยะสั้น ประกอบกับหนังสือกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การดำเนินงานโครงการ        เกษตรผสมผสาน พลังงานทดแทน การปศุสัตว์ การใช้ทรัพยากรชุมชนอย่างคุ้มค่า พึ่งพาตนเอง
        “น้ำคือชีวิต ศาสตร์พระราชาสู่แปลงเกษตรผสมผสานประชารัฐ” ที่เข้ามายังองค์การบริหาร      อย่างยั่งยืนแก่เครือข่ายเกษตรกรตำบลข่วงเปาและเกษตรกรนอกพื้นที่ ซึ่งองค์การบริหาร
        ส่วนตำบลข่วงเปา ซึ่งเป็นนโยบายสำคัญให้นำศาสตร์พระราชามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและ       ส่วนตำบลข่วงเปาทำหน้าที่เป็นผู้ประสานเครือข่าย ส่งเสริม สนับสนุนให้แต่ละภาคีเครือข่ายทำงาน




        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147