Page 147 - kpi20109
P. 147
1 6 1
พร้อมกับการสร้างคุณภาพชีวิตให้ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบ นอกจากนี้ องค์การบริหาร ภาคเอกชน ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจำกัดภู่พิสิฐพาณิชย์สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง
ส่วนตำบลข่วงเปายังบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยการเชื่อมโยงโครงการนี้ไปยังศูนย์สาธิต บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชาตำบลข่วงเปาในเรื่องการแบ่งพื้นที่สร้างบ้านมั่นคงชนบท โดยเครือข่ายทั้ง 3 ส่วนจะร่วมกันดำเนินงาน โดยสรุป ดังนี้
ในศูนย์สาธิตฯ จำนวน 6 หลังคาเรือน
1. การสร้างความเข้าใจของโครงการในระดับชุมชน
หากพิจารณาหน้าที่ของแต่ละภาคีเครือข่าย จะเห็นได้ว่ามีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้
2. การแบ่งทีมงานแต่ละภาคส่วนให้ลงพื้นที่ดำเนินการสำรวจข้อเท็จจริง สภาพบ้านที่อยู่
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา รับผิดชอบงานด้านธุรการ การประสานงาน การจัดตั้ง
คณะกรรมการภาคีเครือข่าย การเจรจาหารือ/ปรึกษา/ระหว่างหน่วยงานคู่กรณีกับชุมชน อาศัย ข้อมูลประวัติ อาชีพ สถานะ และรายละเอียดของผู้ที่เดือดร้อน การเก็บ
ภาพถ่ายเพื่อใช้อ้างอิงและฐานข้อมูลเพื่อดำเนินการเจรจาและชี้แจงปัญหา
การสำรวจหาที่อยู่อาศัยใหม่ การประสานของบประมาณจากสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน
การสนับสนุนการดำเนินงานภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกพื้นที่ รวบรวมข้อมูลและสรุปปัญหาของ 3. การรังวัดพื้นที่และขอบเขตการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับความช่วยเหลือเสนอแก่ภาคีเครือข่ายในการได้รับความช่วยเหลือ 4. การนำข้อมูลมาสรุปและรวบรวมเป็นฐานข้อมูล จัดแยกประเภท และกรองข้อมูลเพื่อ
ตามประเด็นปัญหา ได้แก่ กลุ่มบ้านพรสรรค์ กลุ่มที่ราชพัสดุ ม.3 บ้านท่าศาลา กลุ่มบ้านสันดอย วิเคราะห์ปัญหา
(ม.8 บ้านใหม่สันตึง) กลุ่มบ้านโท้งป่าหมาก ม.10 บ้านใหม่สามัคคี กลุ่มบ้านใหม่อังครักษ์
หมู่ที่ 15 กลุ่มบ้านอังครักษ์ หมู่ที่ 14 กลุ่มพัฒนาหนองปุ๊ กลุ่มสร้างสรรค์บ้านใหม่ ความสำเร็จของโครงการกล่าวได้ว่าองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาได้เปิดโอกาสและ
บริหารเชิงรุกร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ดึงศักยภาพของภาคีเครือข่ายออกมาใช้ตามหน้าที่ที่รับ
ภาครัฐ ได้แก่ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) (พอช.) รับผิดชอบงาน ผิดชอบ กำหนดแผนงานช่วงระยะเวลาการปฏิบัติงานที่ชัดเจนจนเกิดความคล่องตัวและสามารถ
ด้านการออกแบบ สนับสนุนงบประมาณหลักสำหรับการปรับปรุงบ้านมั่นคง (ที่ดินเดิมและ แก้ไขปัญหาและดำเนินโครงการให้บรรลุผลได้รวดเร็ว ที่สำคัญและแตกต่างจากการบริหารงานของ
สร้างบ้านใหม่บนที่ดินใหม่) บุคลากรในการสำรวจและลงพื้นที่ดำเนินการก่อสร้างที่อยู่อาศัยตาม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไป คือ การมีวิธีคิดแบบผลทวีคูณทางเศรษฐกิจและสังคม
ความเป็นจริง ตรวจสอบปัญหาของผู้ที่ได้รับผลกระทบ ให้คำแนะนำและข้อคิดเห็น เสนอแนวทาง (Multiplier effects) ภายใต้งบประมาณที่จำกัด พยายามสร้างมาตรฐานการบริหาร มีการจัดเก็บ
ในการสร้างที่อยู่อาศัย
ฐานข้อมูลในชุมชนและนำมาใช้อย่างชาญฉลาด รวมทั้งสามารถวิเคราะห์และเชื่อมโยงให้เกิด
ชุมชนตำบลข่วงเปา/ผู้นำชุมชน/ปราชญ์ชาวบ้าน/ส.อบต./กลุ่มผู้ประสบปัญหาเรื่องที่ดิน กระบวนการร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายได้อย่างลงตัว ทำให้องค์การบริหารส่วนตำบล
ทำกิน รับผิดชอบการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นฉบับเพิ่มเติมผ่านการทำประชาคมหมู่บ้าน ข่วงเปาไม่ได้เป็นเพียง “องค์กร” ปกครองส่วนท้องถิ่น หากแต่เป็น “ครอบครัว” ที่คอยทำหน้าที่
ทุกหมู่บ้านเพื่อชี้แจงโครงการ การร่วมกันรับรองสิทธิในที่ดินกันเอง การสำรวจที่ดินที่จะรองรับ เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมประสานความช่วยเหลือและดูแล “ชีวิต” ของคนในตำบล กล่าวได้ว่า
ผู้ที่เดือดร้อน การลงมติเห็นชอบในหลักการและการดำเนินงานก่อสร้างที่อยู่อาศัยและ นี่คือผลงานที่ท้าทาย ซับซ้อนและยากมากสำหรับองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็กเพียง
การซ่อมแซมบ้าน การสร้างกฎ กติกาการอยู่อาศัยร่วมกัน แห่งเดียวในจังหวัดเชียงใหม่
ภาคประชาสังคม ได้แก่ สภาองค์กรชุมชนตำบลข่วงเปา รับผิดชอบด้านการประสานงาน
กับองค์กรภาคีเครือข่ายในพื้นที่ การดูแลคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ใหม่ของชุมชน
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61