Page 145 - kpi20109
P. 145
1 1 5
โครงการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยที่ดินทำกินและเมืองพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. สภาองค์กรชุมชน
อย่างมีส่วนร่วม 4. หน่วยงานจังหวัด
5. ตัวแทนกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ฐานข้อมูลชุมชนตำบลข่วงเปา พบว่าประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มีหนี้สิน 6. ตัวแทนกลุ่มคุณภาพชีวิต
ไม่มีที่อยู่อาศัยหรือที่อยู่อาศัยชำรุดทรุดโทรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 ทางองค์การบริหารส่วนตำบล 7. ตัวแทนกลุ่มสตรีแม่บ้าน
ข่วงเปาจึงรีบดำเนินแก้ไขปัญหาดังกล่าวทันที เริ่มต้นด้วยการทำโครงการช่วยเหลือผู้ยากไร้และ 8. ตัวแทนกำนันผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมตำบลข่วงเปา ซ่อมแซมบ้านและช่วยเหลือปัจจัยยังชีพ ในปี พ.ศ. 2556-2559 9. ตัวแทนผู้เดือดร้อนทั้ง 15 หมู่บ้าน
โดยร่วมกับบริษัท CPF (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) ช่วยเหลือผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ
และผู้พิการจำนวน 15 หลังคาเรือน ศูนย์พัฒนาสังคมหน่วยที่ 13 จังหวัดเชียงใหม่ ช่วยเหลือ โครงการดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงระบบความคิดที่ชาญฉลาดและวางแผนดำเนินงาน
ซ่อมแซมไปจำนวน 10 หลังคาเรือน สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด แบบครอบคลุมทุกมิติ ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดินทำกินให้แก่ผู้ที่มีรายได้น้อยอย่าง
เชียงใหม่ ซ่อมแซมไปจำนวน 15 หลังคาเรือน และศูนย์จัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้าน เป็นธรรมและทั่วถึง พร้อมกับการกำหนด “แนวทางการดำเนินงานขอใช้ที่ดินในตำบลข่วงเปา”
ธรรมปกรณ์ซ่อมแซมบ้านผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ และผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลข่วงเปา ซ่อมแซม อันเป็นแนวทางการปรับปรุงในที่ดินเดิม สร้างความเข้าใจของชุมชนและการเจรจาเช่าที่ดิน การขอ
ไปจำนวน 35 หลังคาเรือน ผลจากการดำเนินโครงการดังกล่าวช่วยคลี่คลายได้แก้ปัญหาระยะสั้น ผ่อนผัน การแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่กับหน่วยงานที่เป็นคู่กรณีอย่างชัดเจนในแต่ละช่วงเวลา
ได้เพียงส่วนหนึ่ง อย่างไรก็ตาม จากฐานข้อมูลพบปัญหาเพิ่มเติมว่าหลายหมู่บ้านประสบปัญหา และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากภาคีเครือข่ายเดิมและใหม่ ทั้งนี้เพื่อวัตถุประสงค์
เรื่องคดีการบุกรุกเข้าไปในพื้นที่ของหน่วยงานราชการหลายแห่ง เช่น พื้นที่ของแขวงการทาง พื้นที่ ที่ต้องการให้ผู้มีรายได้น้อย มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน ครอบคลุมมิติการพัฒนาด้านกายภาพ
ป่าสงวนแห่งชาติ ที่ดินของเอกชน พื้นที่ของกรมเจ้าท่า เป็นต้น การขยายตัวของปัญหาดังกล่าว เศรษฐกิจสังคม เกิดความมั่นคงในเรื่องที่อยู่อาศัยและสิทธิการครอบครองที่ดิน ชุมชนเข้ามา
จึงเป็นที่มาของโครงการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยที่ดินทำกินและเมืองพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมี ดำเนินการและมีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันที่จะยุติปัญหา
ส่วนร่วม ในปี พ.ศ. 2560 องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาจึงรื้อแนวคิดเดิมที่ทำเพียงการแก้ไข สร้างอนาคตใหม่ให้ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนและผลกระทบจากการถูกไล่ที่ได้อย่างมีความสุข
ปัญหาด้วยซ่อมแซมบ้านที่ชำรุดทรุดโทรมซึ่งปัญหาดังกล่าวสอดคล้องโดยตรงกับนโยบายและ สามารถแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดไม่ให้ขยายตัวลดความขัดแย้งและการฟ้องร้องเรื่องการบุกรุก
วิสัยทัศน์ของสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) ที่ต้องการสนับสนุนและให้การ ในพื้นที่ได้อย่างยอดเยี่ยม
ช่วยเหลือการพัฒนาที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน ด้วยเหตุนี้เอง องค์การบริหารส่วนตำบล นอกจากนี้ วิธีคิดและการบริหารที่มีความเป็นเลิศของโครงการดังกล่าว คือ การที่ผู้บริหาร
ข่วงเปาจึงเชื่อมประสานงานการดำเนินโครงการและงบประมาณอย่างเข้มแข็ง โดยมีการจัดตั้ง บุคลากรท้องถิ่น และเครือข่ายร่วมกันกำหนด “แนวทางการแก้ไขปัญหาทั้งตำบล” เพื่อสร้างความ
“คณะกรรมการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยอบต.ข่วงเปา” ซึ่งมีหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลพร้อม ยั่งยืนของบ้านและที่ดินโดยมีชุมชนเป็นหุ้นส่วนพัฒนาเมืองทุกมิติ รวมทั้งยุติปัญหาการไร้ที่อยู่
วิเคราะห์ การสนับสนุนแผนพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม ประสานเชื่อมโยงการทำงานอย่างบูรณาการ อย่างบูรณาการและชัดเจนมากขึ้น อาทิ แก้ปัญหาของผู้เดือนร้อนในชุมชนที่ไม่มีทั้งที่ดินและบ้าน
ติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง บริหารโครงการและส่งเสริมยกระดับแผนงานเชิงนโยบาย จำนวน 318 ครัวเรือน การปรับปรุงซ่อมแซมของผู้ที่ยากจนจำนวน 40 ครัวเรือน และ
โดยคณะกรรมการดังกล่าวยังมีภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ดังนี้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ที่ไม่เดือดร้อนจำนวน 2,130 ครัวเรือน อีกทั้งยังมีการจัดทำ
1. ผู้บริหารและบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา “แผนการพัฒนาที่อยู่อาศัยตำบลข่วงเปา” ซึ่งประกอบด้วยการซ่อมแซมและปรับปรุงที่อยู่อาศัย
2. สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) กระทรวงการพัฒนาสังคมและ การสร้างบ้านมั่งคงชนบท บ้านมั่งคงเมือง การย้ายออกจากพื้นที่สาธารณะที่บุกรุกไปอยู่ที่แห่งใหม่
ความมั่นคงของมนุษย์
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61