Page 188 - kpi20109
P. 188

1 6                                                                                                                                                       1


              เทศบาลนครภูเก็ต เน้นพัฒนาคนเป็นเป้าหมายหลักเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายการเป็น        สุขภาพเทศบาลนครภูเก็ต เป็นต้น รวมถึงการนิเทศติดตามงานในพื้นที่ของคณะอนุกรรมการ
        “นครแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต” พร้อมจะก้าวสู่ “เมืองอัจฉริยะ” โดยยึดหลักการสำคัญ       กองทุนหลักประกันสุขภาพ และการลงพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลจริงจากผู้ตอบแบบสอบถาม
        ในการทำงานที่ว่าไม่ว่าเมืองจะเจริญเติบโตไปในทิศทางใด ประชาชนต้องร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแสดง  ในแต่ละโครงการพัฒนา

        ความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ และร่วมกันภาคภูมิใจในอัตลักษณ์และวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม         3.  การจัดบริการสาธารณะ เทศบาลได้เปิดโอกาสให้องค์กรภาคประชาสังคมในพื้นที่และ
        ของชาวภูเก็ต ตามวิสัยทัศน์ที่ว่า “นครภูเก็ต เป็นนครแห่งการสร้างสรรค์และน่าอยู่อย่างยั่งยืน”   ประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมริเริ่มเสนอแผนงานและโครงการที่ตนเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อชุมชน
        โดยผ่านยุทธศาสตร์ทั้ง 9 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษา 2. ยุทธศาสตร์    ผ่านการจัดประชุมประชาคมอันเป็นการร่างโครงการจากประชาชนขึ้นมา (Bottom-Up) เพื่อขอรับ
        บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 3. ยุทธศาสตร์พัฒนาการบริการ     เงินอุดหนุนในการจัดกิจกรรม เช่น โครงการปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ เพื่อของบฯ จากมูลนิธิ
        ภาครัฐ 4. ยุทธศาสตร์เมืองดี 5. ยุทธศาสตร์คนมีสุข 6. ยุทธศาสตร์เมืองสร้างสรรค์สู่เศรษฐกิจ    เพื่อสิ่งแวดล้อมภูเก็ต เป็นต้น ส่วนโครงการพัฒนาต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่

        ยั่งยืน 7. ยุทธศาสตร์มุ่งสู่เมืองคาร์บอนต่ำ 8. ยุทธศาสตร์พัฒนาเขตเศรษฐกิจใหม่ และ      เทศบาลจะเปิดโอกาสให้องค์กรภาคประชาสังคมในพื้นที่และประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมในการให้
        9. ยุทธศาสตร์ส่งเสริม สนับสนุน ประเพณีวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ โดยเป้าหมายของทุก          ข้อมูลแสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ และพิจารณาเห็นชอบ เช่น โครงการรับฟังความคิดเห็น
        ยุทธศาสตร์ที่เทศบาล ฯ ทำนั้นไม่เพียงแต่ต้องการที่จะให้เกิดผลลัพธ์อันเป็นรูปธรรมในรูปของ  โครงการระบบเคเบิ้ลใต้ดิน เขตย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ต เป็นต้น
        กิจกรรมสาธารณะหรือโครงการพัฒนาต่าง ๆ  หากแต่ยังเน้นใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของ
        ประชาชนและภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบของกลุ่ม ชุมชน คณะกรรมการ            4.  การบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น เทศบาลเปิดโอกาสให้หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ
        เพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน สร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิด สร้างความรู้สึกอันเป็นเจ้าของ   ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
        (Sense of belonging) ให้เกิดขึ้นกับประชาชนทุก ๆ คนอีกด้วย                             โดยวิธีปิดประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง ณ ที่ทำการชุมชนให้ประชาชนรับทราบ และให้ประชาชน

                                                                                              เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง ตลอดจนอำนวยความสะดวกเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการ
              โดยการร่วมกันทำงานในลักษณะที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมสามารถแยกเป็นประเด็นได้ดังนี้
                                                                                              จากเทศบาลในการเสียภาษีและชำระค่าธรรมเนียมต่างๆ ได้ง่ายขึ้น ทั้งช่องทางของธนาคาร
              1.  การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น มีการเปิดโอกาสให้ตัวแทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน     การชำระออนไลน์ การรับชำระนอกเวลา รวมถึงวันหยุดราชการ มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับ
        ภาคประชาสังคม และประชาชน เข้ามีส่วนร่วมในการจัดทำหรือปรับแผนพัฒนาท้องถิ่นผ่านทาง      รายได้ของเทศบาลนครภูเก็ตและสถานะทางการเงินให้แก่ภาคประชาชนทราบผ่านทางเว็บไซต์
        การประชุมประชาคมชุมชนนครภูเก็ตปีละ 1 ครั้ง (ต.ค. 59 และ ก.ค. 60 ที่ผ่านมา) แต่ละครั้ง  รายงานกิจการ ปิดประกาศ ณ บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

        เทศบาลจะได้คำติชม รวมถึงข้อร้องเรียนและข้อเสนอแนะโดยตรงจากประชาชนที่เป็นข้อมูลชั้นดี        5.  กิจการสภาท้องถิ่น เป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่มีหน้าที่ในการพิจารณาเห็นชอบเทศบัญญัติ
        ให้ทางเทศบาลนำไปปรับแผนการพัฒนาฯในอนาคต นอกจากนั้น เทศบาลยังเปิดโอกาสให้ภาคส่วน       แผนพัฒนาและงบประมาณต่าง ๆ ของเทศบาล ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางที่นำความต้องการของ
        ต่างๆ มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนอื่นของเทศบาลอีกด้วย เช่น การจัดอบรม ปรับปรุง ทบทวน      ประชาชนสู่คณะผู้บริหาร ผลักดันนโยบายและเป็นตัวแทนของประชาชนในการดูแลตรวจสอบ
        การจัดทำแผนชุมชน การอบรมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนเชิงยุทธศาสตร์ด้านการศึกษา              การดำเนินงานให้เกิดความโปร่งใสตามหลักของกฎหมายและหลักธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นไปใน
        การจัดทำพิมพ์เขียว การประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุน          รูปแบบการยื่นกระทู้ถามคณะผู้บริหารและในทุกครั้งที่มีการประชุมจะมีการเผยแพร่รายงาน
        หลักประกันสุขภาพ เป็นต้น
                                                                                              การประชุมสภาเทศบาลนครภูเก็ตให้ประชาชนทราบผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่างๆ

              2.  การติดตามประเมินผล ผ่านรูปแบบคณะกรรมการ เช่น คณะกรรมการติดตามและ                  6.  การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ทุกโครงการและ
        ประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลนครภูเก็ต คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน
                                                                                              กิจกรรมที่เทศบาลดำเนินการ ผลการดำเนินงาน ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับจัดเก็บภาษี อากร

        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193