Page 191 - kpi20109
P. 191
1 0 1 1
โดยในช่วงเริ่มต้นนั้นสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติร่วมกับเทศบาลทำหน้าที่เป็นแกนนำ การอบรมมัคคุเทศก์น้อย (เจ้าบ้านน้อย ) กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น การประชุมสัมมนา
หลักในการสร้างความเข้าใจให้แก่ครู บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง และคนในชุมชนให้ได้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อจัดเก็บข้อมูลประวัติศาสตร์เกี่ยวกับชุมชน กิจกรรมอบรมการทำอาหาร
ตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดทำศูนย์การเรียนรู้ ต่อจากนั้นได้มีการแต่งตั้งคณะ พื้นเมืองภูเก็ต กิจกรรมหนึ่งห้องเรียน หนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Class One Product) เป็นต้น
กรรมการศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวจากบุคคลหลายภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง ส่วนด้านการจัดหางบประมาณนั้นโรงเรียนมีการแต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายจัดหางบประมาณ
ผู้บริหาร ครู และบุคลากรในโรงเรียน ต่อมาได้มีการประชุมระดมความคิดเห็นโดยมีทีมวิทยากร เพื่อร่วมกันประชุมวางแผนเรื่องการระดมทุนและการจัดหางบประมาณให้เพียงพอในการสร้าง
สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (National Discovery Museum Institute : NDMI) ศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว ซึ่งโรงเรียนก็จะได้งบประมาณมาจากหลายภาคส่วน
สังกัดสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)(Office of Knowledge
Management and Development (Public Organization) หรือ OKMD เป็นผู้นำในการให้ ระยะที่ 3 สร้างสรรค์
ความรู้และแนวคิดแก่เทศบาล บุคลากรในโรงเรียน รวมถึงภาคประชาสังคม ประชาชนที่มารับฟัง ขั้นนี้คณะกรรมการได้ประชุมเพื่อพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว เริ่มจากประชุม
ในระยะแรกของการประชุมพบว่าเกิดปัญหาพอสมควร เช่น ความไม่เข้าใจกันระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ ร่วมกันเพื่อออกแบบและเริ่มการก่อสร้างปรับปรุงห้องศูนย์ ซึ่งผู้ที่มาออกแบบศูนย์นั้นเทศบาล
และผู้รับความรู้ ผู้ทรงคุณวุฒิบางท่านคิดว่าการประชุมล่าช้าเกินไป มีความคิดเห็นมีความแตกต่าง ไม่ได้ใช้คนจากภายนอกหากแต่เป็นคนในชุมชนที่มีความรู้ด้านการออกแบบและสถาปัตยกรรม
หลากหลายทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย การประชุมแต่ละครั้งใช้เวลานาน ประกอบกับยังไม่ได้ มาร่วมลงแรงสร้างสรรค์ศูนย์แห่งนี้ขึ้น มีการแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์การเรียนรู้จากบุคคลที่มี
ข้อมูลชัดเจนเสียที ดังนั้นจึงมีการเชิญนักวิชาการที่มีความชำนาญด้านการจัดทำพิพิธภัณฑ์เข้ามา ความรู้ความสามารถในด้านประวัติศาสตร์ ประเพณีและวัฒนธรรม เป็นผู้ตรวจโครงสร้างเพื่อให้
ช่วยให้ความรู้ และเชิญผู้มีความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น นักประวัติศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และ เป็นไปตามแบบที่ถูกต้องในเชิงประวัติศาสตร์ สำหรับกระบวนการจัดจ้างได้มีการแต่งตั้ง
ผู้เฒ่าผู้แก่ในท้องถิ่นมาให้ความรู้และถ่ายทอดข้อมูล การประชุมจัดขึ้นอย่างเป็นทางการถึง คณะกรรมการตามระเบียบพัสดุการใช้งบประมาณของรัฐ ในกรณีที่ใช้งบประมาณจากการระดม
11 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีการประชุมนอกรอบอย่างไม่เป็นทางการอีกหลายครั้ง เพื่อการจัดข้อมูล ทุนของผู้ปกครองก็มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่เป็นตัวแทนผู้ปกครองเข้าร่วมในการดำเนินการ
ที่ครบถ้วนและมีความถูกต้องมากแม่นยำมากที่สุด จัดซื้อจัดจ้างด้วย หากเป็นงบประมาณที่มาจากมูลนิธิก็มีการแต่งตั้งบุคลากรจากมูลนิธิเข้าร่วม
เป็นกรรมการตรวจรับด้วย
ระยะที่ 2 การปฏิบัติงานเป็นทีม
ระยะที่ 4 ประเมินและพัฒนา
เริ่มต้นด้วยการเก็บข้อมูลและการจัดการความรู้ โดยข้อมูลเริ่มเก็บนั้นมาจากภูมิปัญญา
หรือภูมิรู้ของคนในท้องถิ่น ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มที่สำคัญเนื่องจากเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นโดยผู้ที่อยู่ในช่วง มีการแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมประเมินผลโครงการศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว
เวลานั้นๆ โดยตรง หรือมิเช่นนั้นก็ได้รับการบอกกล่าวถ่ายทอดโดยตรงมาแบบรุ่นสู่รุ่น โรงเรียน บูรณาการท้องถิ่น และนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้เพื่อต่อยอดเป็นนวัตกรรม
ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานซึ่งประกอบด้วยบุคลากรที่มาจากหลายฝ่ายเพื่อลงปฏิบัติงานในพื้นที่ โดยโรงเรียนจะประเมินโครงการเมื่อสิ้นปีการศึกษาโดยใช้รูปแบบการประเมินซิปของสตัฟเฟิลบีม
จริงในชุมชน รวมถึงลงมือเก็บข้อมูลที่หลากหลายจากผู้รู้หลายท่าน แล้วจึงนำมาวิเคราะห์และ (Stufflebeam’s CIPP Model)
สังเคราะห์โดยนักวิชาการก่อนที่จะสรุปเป็นข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำมากที่สุด เพื่อบันทึกไว้เป็น
ฐานข้อมูลในการปะติดปะต่อเรื่องราวให้เป็นรูปเป็นร่าง มีการประชุมนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็น โดยสรุปแล้ว โครงการนี้เป็นแนวคิดใหม่ที่นำเอากระบวนการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้าน
ข้อมูลเพื่อการออกแบบศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวบูรณาการเอกลักษณ์ท้องถิ่น รวมถึง การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเป็นสถานที่ที่รวบรวมเรื่องราวประวัติศาสตร์ ประเพณีและ
การจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้นักเรียน ผู้ปกครอง และคนในชุมชนเพื่อการเป็นเจ้าบ้านที่ดี วัฒนธรรมของชุมชน โดยมีสถานศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้นำ รวมทั้งการสานพลัง (synergize)
มีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณี ในท้องถิ่นของตนเอง กิจกรรมที่จัดขึ้น เช่น กิจกรรม ให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยเน้นการมีส่วนร่วมโดยประชาชน (public
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61