Page 190 - kpi20109
P. 190

1                                                                                                                                                         1


        ค่าธรรมเนียม ข้อมูลรายรับ รายจ่าย ของเทศบาล ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง   ณ บริเวณถนนถลางจนประสบความสำเร็จ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถสร้างรายได้ให้คนใน
        ตลอดจนข้อมูลอื่นๆ เช่น เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี จะมีการเผยแพร่ข้อมูลเพื่อให้  ชุมชนได้อย่างดี ดังนั้นเทศบาลนครภูเก็ตจึงมีแนวคิดในการพัฒนาต่อยอดมาสู่การสร้างเครือข่าย
        ประชาชนได้เข้าดูและตรวจสอบได้อย่างสะดวกในหลายช่องทาง ได้แก่ เว็บไซต์เทศบาล            ศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวบูรณาการเอกลักษณ์ท้องถิ่นขึ้นในชุมชนบางเหนียว โรงเรียน
        นครภูเก็ต www.phuketcity.go.th เฟซบุ๊ก ประชาสัมพันธ์นครภูเก็ต วารสาร “รัษฎานุสาร”     เทศบาลบ้านบางเหนียวซึ่งเป็นโรงเรียนในชุมชนจึงได้ตระหนักในความสำคัญดังกล่าว เห็นว่า

        ของเทศบาลนครภูเก็ต ป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่าง ๆ ของเมือง จดหมายข่าว ติดประกาศ        ถึงเวลาแล้วที่จะต้องพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
        ณ บอร์ดประชาสัมพันธ์ จัดหน่วยรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ รายการวิทยุ และศูนย์ข้อมูลข่าวสาร  ในท้องถิ่นและเป็นแหล่งศึกษาประวัติศาสตร์อันยาวนานของชุมชน
        ภายในเทศบาล ในส่วนของวิธีการรับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ของประชาชน นอกจากสามารถ            อย่างไรก็ตาม ในระยะเริ่มแรกของโครงการนั้นเป็นไปด้วยความยากลำบากและมีอุปสรรค
        ร้องเรียน ร้องทุกข์ ทางเว็บไซต์เทศบาลแล้ว ยังมีอีก 2 ช่องทาง คือ สายด่วน 1132 และ     มากมาย ประการแรกคือ เรื่องงบประมาณ โครงการดังกล่าวจำเป็นต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก
        ศูนย์ดำรงธรรมเทศบาลนครภูเก็ต ทั้งหมดนี้เพื่อความโปร่งใสในการทำงานและการนำประชาชน      อาศัยแต่เพียงงบประมาณตั้งต้นจากกรมส่งเสริมฯ นั้นไม่เพียงพอ เทศบาลจึงต้องระดมทุนจาก

        เข้ามามีส่วนร่วมกับเทศบาลให้มากขึ้นผ่านการประชาสัมพันธ์ตามช่องทางดังกล่าวข้างต้น
                                                                                              พลพรรคทุกภาคส่วนเพื่อให้เกิดโครงการนี้ขึ้น ประการที่สองคือเรื่องการรวบรวมข้อมูลทาง
              สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ         ประวัติศาสตร์ของชุมชน ในช่วงแรกพบว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นเรื่องเล่าดั้งเดิมนั้นยากลำบาก
        ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ของเทศบาลนครภูเก็ต ได้แก่           เพราะภูมิรู้เหล่านี้มักกระจุกตัวอยู่กับผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนซึ่งมีจำนวนน้อยคนที่จะถ่ายทอดได้
                                                                                              รวมถึงพบว่าข้อมูลที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของชุมชนนั้นไม่เคยมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
        โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวบูรณาการเอกลักษณ์ท้องถิ่น
                                                                                              ที่เป็นระบบระเบียบมาก่อนจึงต้องอาศัยความพยายามอย่างมากที่จะรวบรวมเรื่องราวที่เป็นช่วง
              เรื่องราวเริ่มขึ้นเมื่อกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้คัดเลือกโรงเรียน 80 แห่ง    ตอนที่แตกต่างกันมาประติดประต่อทีละน้อย ๆ ให้ค่อยเห็นภาพใหญ่ขึ้นมา ทั้งจากคำบอกเล่า
        ทั่วประเทศเพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยวในปี 2555 ซึ่งโรงเรียนเทศบาล     โดยตรงของผู้รู้ในชุมชน การสำรวจโบราณวัตถุที่มีอยู่ในชุมชน และเอกสารทางโบราณคดีของ

        บ้านบางเหนียวเป็นหนึ่งในโรงเรียนจำนวน 80 แห่งที่ได้รับการคัดเลือกด้วยงบประมาณเริ่มต้น  ชุมชนให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถหาได้ ประการที่สามคือ ความไม่เข้าใจและไม่เห็นความสำคัญ
        เพียง 100,000 บาทเท่านั้น โรงเรียนจึงเกิดแนวคิดในการจัดทำศูนย์การเรียนรู้ด้านการท่องเที่ยว  ของคนในชุมชน พบว่าในช่วงแรกนั้นเทศบาลต้องเป็นผู้ลงพื้นที่เพื่อหาข้อมูลและเก็บข้อมูลเองเป็น
        บูรณาการเอกลักษณ์ท้องถิ่นขึ้น เนื่องจากที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ในใจกลางชุมชนบางเหนียว      ส่วนใหญ่ เนื่องจากคนในชุมชนไม่ว่าจะเป็นเด็ก ๆ วัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ยังไม่เห็นความสำคัญและ
        ส่วนรอบๆ โรงเรียนนั้นต่างล้อมรอบไปด้วยเป็นสถานที่สำคัญที่ชาวชุมชนเรียกกัน “อ๊าม” หรือ    ไม่เข้ามามีส่วนร่วมกับโครงการเท่าที่ควร อย่างไรก็ตามด้วยความมุ่งมั่นของเทศบาลและโรงเรียน
        ศาลเจ้าของชาวจีนอพยพ ชุมชนแห่งนี้มีประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ยาวนานนับร้อยปี มีประเพณี   บ้านบางเหนียวที่ต้องการจะเห็นศูนย์แห่งนี้พัฒนาขึ้นเป็นศูนย์เรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
        วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดต่อกันมาหลายชั่วอายุคนแต่ไม่มีการบันทึกไว้อย่างเป็น  ที่สำคัญของชุมชนต่อไปในอนาคต เทศบาลฯและโรงเรียนฯจึงค่อยๆ เริ่มดำเนินการไปทีละน้อยๆ

        ทางการ นอกจากนี้ยังมีร้านอาหารและขนมพื้นเมืองที่มีชื่อเสียง มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ  โดยวางแผนการทำงานเป็นระยะต่างๆ ดังต่อไปนี้
        แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมที่หลากหลายของคนในชุมชนที่เป็นเรื่องเล่าสืบต่อกันมาถึงวัฒนธรรม
        อันงดงามของชาวจีนที่มาตั้งถิ่นฐานในชุมชนแห่งนี้ ซึ่งต่างตระหนักดีว่าเมื่อนานไปสิ่งเหล่านี้อาจจะ  ระยะที่ 1 สร้างพลัง
        สูญหายหากลูกหลานชาวบ่างเหลียว (หมายถึงสถานที่ตากแหตากอวนในภาษาจีนฮกเกี้ยน) หรือ             เริ่มต้นด้วยการหาเครือข่ายเพื่อทำความร่วมมือระหว่างกัน มีการทำ MOU
        ที่เพี้ยนมาเป็นบางเหนียวในปัจจุบันไม่ร่วมใจกันอนุรักษ์สืบสานดูแล ประกอบกับเทศบาล      (memorandum of understanding) ระหว่างโรงเรียนกับเทศบาลนครภูเก็ต การท่องเที่ยว

        นครภูเก็ตเองได้ริเริ่มให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมด้วยโครงการย้อนอดีตเมืองภูเก็ต      แห่งประเทศไทย สำนักงานภูเก็ตและสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195