Page 231 - kpi20109
P. 231

2 0                                                                                                                                                       2 1


              5.  เสนอแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อชุมชน          นาอ้อเลย สิ่งนี้เป็นแรงผลักดันให้กับพี่น้องประชาชนในเทศบาลนาอ้อ หันกลับมาทบทวนตัวเอง
        ท้องถิ่นเพื่อประกอบการจัดทำร่างแผนพัฒนา                                               และเริ่มเล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน  ทั้งนี้มีการพูดคุยกันในที่ประชุม
                                                                                              ของคณะอนุกรรมการพัฒนาเทศบาลตำบลนาอ้อ ถึงแนวทางการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยว และ
              คณะอนุกรรมการพัฒนาเทศบาลตำบลนาอ้อ ถือว่าเป็นการปรับความสมดุลในโครงสร้าง

        เชิงอำนาจระหว่างท้องถิ่นกับภาคประชาชน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่สังคมที่เปิดและ     มีการเริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ซึ่งถือได้ว่า เป็นโครงการที่มีความ
        การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนท้องถิ่น สร้างความเชื่อมโยงของหน่วยงานฝ่ายบริหารและประชาชน   ต่อเนื่อง และที่สำคัญเป็นโครงการที่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน เพราะการจัดการท่องเที่ยว
                                                                                              ในเทศบาลตำบลนาอ้อ เป็นการท่องเที่ยวที่เน้นการนำทุนและศักยภาพที่นาอ้อมีอยู่ไม่ว่าจะเป็น
        ในการประชุมมีการพิจารณาที่สำคัญ เช่น การประชุมพิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น การมี       ศิลปวัฒนธรรมประเพณี และวิถีความเป็นอยู่ของประชาชนท้องถิ่น มาเป็นจุดขายสำคัญ
        ส่วนร่วมในการจัดทำร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี การพิจารณาและการประชาคม
        ในเรื่องต่างๆ ที่จะต้องผ่านความคิดเห็นของประชาชน รวมทั้งการนำเสนอปัญหาจากชุมชน              สำหรับกระบวนการดำเนินงานตั้งแต่เริ่มต้นขับเคลื่อนโครงการฯ เทศบาลตำบลนาอ้อ
        มาพิจารณาร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องร้องทุกข์ ร้องเรียนต่างๆ โดยมีวัตถุประสงค์ของการประชุม     อาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป็นหัวใจสำคัญ ดังเห็นได้จากในแต่ละขั้นตอน

        เพื่อต้องการแก้ไขปัญหาของท้องถิ่นเป็นหลัก                                             จะมีคนในตำบลจากทุกภาคส่วนเข้าไปมีส่วนร่วม ดังนี้

              สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านความโปร่งใสและ            1.  ประชุมกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวนาอ้อ เช่น กลุ่มโฮมสเตย์ กลุ่มจักรสาน
        ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ของเทศบาลตำบลนาอ้อ ได้แก่                             กลุ่มกองยาวบ้านโพน กลุ่มสตรี เป็นต้น  เพื่อให้ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวแก่ชุมชนต่างๆ ในการ
                                                                                              พิจารณาทั้งด้านบวกและด้านลบของการท่องเที่ยว ซึ่งที่ประชุมมีมติที่จัดตั้งกลุ่ม “ชมรมส่งเสริม
        โครงการ การท่องเที่ยวเทศบาลตำบลนาอ้อ (ชีวิตดี๊ดี...ที่นาอ้อ)
                                                                                              การท่องเที่ยวโดยชุมชนเทศบาลตำบลนาอ้อก๋อ” โดยมีผู้ใหญ่บ้านปัญญา ลางกูล (กลุ่มกลองยาว
              การจัดการท่องเที่ยวในเทศบาลตำบลนาอ้อ เริ่มจากการที่ชุมชนเห็นนักท่องเที่ยวจาก    บ้านโพน) เป็นประธานเพื่อขับเคลื่อนกลุ่มท่องเที่ยวฯ
        ทุกสาระทิศหลั่งไหลเข้ามาเที่ยวที่เชียงคาน โดยการเดินทางไปที่ อำเภอเชียงคาน จะต้องผ่าน

        เทศบาลตำบลนาอ้อ ที่เห็นได้ชัดเจน คือรถบัสคันใหญ่ที่บรรจุนักท่องเที่ยวไม่ต่ำกว่าคันละ 50 คน   2.  กลุ่มต่างๆ ประชุมร่วมกันเพื่อศึกษาชุมชนร่วมกับชาวบ้าน อันเป็นการทำงานร่วมกับ
        คันแล้วคันเล่า ที่ผ่านถนนสาย เลย - เชียงคาน วันละไม่ต่ำกว่า 10 คัน ไม่เคยแวะเทศบาลตำบล  ชาวบ้าน เพื่อศึกษาหาข้อมูลในหัวข้อดังนี้
                                                                                                      4  การสำรวจทางกายภาพ  เล่าเรื่องชุมชนของตัวเองมีอะไรดีบ้าง
                                                                                                      4  ศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณีของชุมชน ปราชญ์
                                                                                                         ชาวบ้าน

                                                                                                      4  ศึกษาความสัมพันธ์ของชุมชนกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรเพื่อ
                                                                                                         การท่องเที่ยว
                                                                                                      ผลของการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สรุปออกมาเป็นทุนและศักยภาพของ
                                                                                              หมู่บ้านทำให้เห็นศักยภาพ ข้อจำกัดของชุมชน และปัญหาของชุมชนร่วมกัน

                                                                                                    3.  วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน ทั้งในด้านศักยภาพ ข้อจำกัด โอกาสและความเสี่ยง ในขั้นตอนนี้

                                                                                              จะทำให้ชุมชนได้มองเห็นได้ด้วยตนเอง และสามารถเชื่อมโยงเรื่องท่องเที่ยวกับการพัฒนาชุมชนได้



        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236