Page 233 - kpi20109
P. 233
2 2 2
4. ร่วมกันพัฒนาศักยภาพและแก้ไขจุดอ่อน อาทิ กระบวนการทั้ง 9 ขั้นตอนที่กล่าวมาเป็นการปลุกสำนึกของท้องถิ่น ให้คนท้องถิ่น
4 รวบรวมองค์ความรู้ ซึ่งแต่ละชุมชนจะแตกต่างกันออกไปมีเอกลักษณ์เฉพาะ อยากรู้จักตนเอง และเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง การท่องเที่ยวเกิดความชัดเจนมากขึ้นว่า
ชุมชน เช่น บางชุมชนเด่นด้านการพัฒนาชุมชน บางชุมชนเด่นระบบการจัดการ เป็นการเข้ามาเพื่อให้ชุมชนได้นำเสนอตัวอย่างที่ดีต่อสาธารณะ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นหัวใจ
นิเวศที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้เหมาะสม เป็นต้น ซึ่งชุมชนต้องร่วมกันดึง สำคัญของการท่องเที่ยว นอกจากปลุกจิตสำนึกของชุมชนแล้วยังเป็นการสร้างจิตสำนึกของ
เอกลักษณ์ ให้เห็นร่วมกันก่อนนำสู่การเผยแพร่ออกไป นักท่องเที่ยวต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการเห็นคุณค่าทางวัฒนธรรมของชุมชนที่ได้เข้ามา
4 ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวให้เหมาะสม สอดคล้อง ปลอดภัย ไม่ทำลายระบบนิเวศ เยี่ยมเยือนอีกด้วย
เดิมมากนัก เช่น การปรับทางเดินในแหล่งเรียนรู้ เป็นต้น
ปัจจุบัน โครงการนี้ทำให้ การท่องเที่ยว กลายเป็น ”เครื่องมือ” ที่ชุมชนให้ความสำคัญ
4 ปรับปรุงบ้านพักและความสะอาดภายในชุมชนให้เป็นมาตรฐานของชุมชนแต่ละ เนื่องจากมีความสำคัญต่อการสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและชุมชนอย่างชัดเจน เช่น การเดินทาง
แห่งที่ตกลงร่วมกัน โดยมีคณะกรรมการของชุมชน ตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ
4 ฝึกอบรมบุคลากรด้านการท่องเที่ยวในชุมชน ซึ่งในขั้นตอนนี้จะเห็นความสามารถ ที่พัก การซื้อของที่ระลึก ร้านค้าต่างๆ จึงมีการประกอบกิจการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวทั้ง
โดยทางตรงและทางอ้อม ขยายเพิ่มมากขึ้น มีที่พักแบบพื้นบ้านที่เรียกว่า โฮมสเตย์ ร้านอาหาร
ของชุมชน ในการรองรับนักท่องเที่ยว ทั้งความพร้อมจำนวนบุคลากร และขีด
ความสามารถในการรองรับทั้งพื้นที่ทางธรรมชาติ และรูปแบบกิจกรรมที่ และแหล่งบริการอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น เพื่อดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
ผลที่ตามมาคือการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการตื่นตัวเพราะมองว่าเป็นเรื่องง่ายที่จะมี
สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน
รายได้เพิ่มจากการท่องเที่ยว และยังเป็นการอนุรักษ์วิถีชีวิตของชุมชนให้คงอยู่ โดยชุมชนเป็น
5. วางรูปแบบการบริหารจัดการ กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน กำหนดรูปแบบของ เจ้าของ ชุมชนมีส่วนร่วมทั้งการคิดร่วม วางแผนร่วม ทำกิจกรรมร่วม ติดตามประเมินผลร่วมกัน
การท่องเที่ยว โปรแกรมและราคาการจัดสรรผลประโยชน์ สู่ชาวบ้านและชุมชน และมาตรการ เรียนรู้ร่วมกันและรับประโยชน์ร่วมกัน นับได้ว่าเป็นการผสมผสานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
ในการป้องกันผลกระทบ โดยอาจจะเป็นการสร้างกฎกติกา เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติทั้งชาวบ้านและ คุณภาพชีวิตให้เป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยว เชื่อมโยงแหล่งต่างๆ เพื่อนำมาเป็นเส้นทาง
นักท่องเที่ยว การท่องเที่ยว ทำให้เกิดเส้นทางการท่องเที่ยวต่างๆโดยเฉพาะลานวัฒนธรรม หน้าสำนักงาน
เทศบาลที่พัฒนาเป็นเส้นทางหลักที่รวบรวมโครงการต่างๆ ของชุมชนทั้ง 10 และโรงเรียน มารวม
6. ทดลองดำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยว ในขั้นตอนนี้อาจมีการจัดท่องเที่ยวนำร่อง
เพื่อทดสอบความพร้อมของชุมชน โดยการเชิญประชาชนของเทศบาลตำบลนาอ้อ เข้าร่วมทดสอบ อยู่เป็นลานนิทรรศการขนาดใหญ่ ทำให้เกิดรายได้ สร้างอาชีพให้กับมัคคุเทศก์ท้องถิ่น และกลุ่ม
อาชีพต่างๆ ในการมาเป็นวิทยากร นำไปสู่สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมรับผลประโยชน์ร่วมกัน
กิจกรรมการท่องเที่ยว
โรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น (ศูนย์บูรณาการท้องถิ่นศึกษา)
7. ประชุมสรุปเพื่อประเมินผลทดลองดำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยว
โรงเรียนเทศบาลนาอ้อ ได้จัดทำโครงการโรงเรียนพอเพียงท้องถิ่น(ศูนย์บูรณาการท้องถิ่น
8. เมื่อมีหน่วยงานภายนอกทำหนังสือขอดูงานเข้ามา เทศบาลตำบลนาอ้อ จะใช้เส้นทาง ศึกษา) ซึ่งเป็นโครงการที่มุ่งเน้นให้สถานศึกษาพัฒนาการจัดการศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะใน
ของกลุ่มเที่ยวเที่ยวชุมชนนาอ้อก๋อ เป็นเส้นทางหลักให้ผู้ดูงานเลือก เพื่อเข้าศึกษาดูงาน ได้ตรง การดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ความสำคัญกับความเป็นท้องถิ่นและ
ตามความต้องการ
ความเป็นไทย ผู้เรียนพร้อมที่จะนำความรู้ความสามารถไปพัฒนาชุมชนของตัวเอง ซึ่งน้อมนำ
9. ผู้ประสานของเทศบาลตำบลนาอ้อ ประสานไปยังกลุ่มเที่ยวเที่ยวชุมชนนาอ้อก๋อ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานในการบริหารจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นด้าน
เพื่อจัดเตรียมตามวันและเวลาที่คณะศึกษาดูงานจะเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากร ด้านการจัดทำหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านผลสัมฤทธิ์
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61