Page 286 - kpi20109
P. 286

2                                                                                                                                                         2 5


              เทศบาลตำบลกระสัง เป็นพื้นที่ที่มีอัตลักษณ์ทางภูมิสังคมที่มีลักษณะเผ่าพันธุ์ที่ต่างกัน   คนไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ในตำบลกระสัง ประมาณ 25% ภาษาลาว เนื่องจากตำบลกระสังได้รับ
         จึงมุ่งเน้นการการสร้างความสันติสุขและความสมานฉันท์ให้แก่ประชาชนในเทศบาลตำบลกระสัง    อิทธิพลการใช้ภาษาจากชนชาติลาวที่มีการอพยพเข้ามาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
         และพื้นที่ใกล้เคียง มีการพัฒนาชุมชนให้เป็นเมืองน่าอยู่ สังคมเป็นสุข ส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน     ปัจจุบันมีคนไทยเชื้อสายลาวอยู่ประมาณ 15% ภาษาส่วย (กูย) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีภาษาที่ใช้
         อย่างสงบสุข เนื่องจากตำบลกระสังมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม          เฉพาะในการสื่อสาร คือ ภาษาส่วย หรือ ภาษากูย เป็นชนพื้นเมืองของอำเภอกระสัง ซึ่งจะเป็น

         ประชากรมีทั้งประชาชนท้องถิ่นดั้งเดิม และประชาชนที่ได้อพยพเข้ามาจากในอดีตหลายชนชาติ   ภาษาที่คล้ายคลึงกับภาษาเขมร แต่ไม่เหมือนภาษาเขมร มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ปัจจุบันมีกลุ่ม
         ได้แก่ จีน เขมร ลาว และส่วย                                                          ชาติพันธุ์ส่วย หรือ กูย ในพื้นที่ประมาณ 5% นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มที่มีความแตกต่างทางศาสนา
                                                                                              ได้แก่ ศาสนาคริสต์ 10% มีโบสถ์เพื่อประกอบพิธีทางศาสนาในพื้นที่ จำนวน 1 แห่ง ซึ่งสร้างขึ้น
              ด้วยเหตุนี้ เทศบาลตำบลกระสัง จึงได้เสริมสร้างความสันติสุขและสมานฉันท์
         โดยส่งเสริมให้มีการทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบของประเพณีอันดีงาม ที่ดึงจุดเด่นทาง       ในปี พ.ศ. 2542 และศาสนาอิสลาม 5% กลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม (กลุ่มปาทาน) อพยพมา
                                                                                              ตั้งรกราก ประมาณปี พ.ศ. 2527 กลายเป็นชุมชนชาวมุสลิม และมีมัสยิดจำนวน 1 แห่งในพื้นที่
         วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชนชาติต่างๆ มาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน เพื่อให้เกิด

         กระบวนการการมีส่วนร่วมของทุกชนเผ่า เพื่อลดปัญหาความขัดแย้ง และร่วมกันแก้ไขปัญหา            จากความแตกต่างและหลากหลายทางชนเผ่าของตำบลกระสังนั้น ทำให้เทศบาลตำบล
         หาทางออกร่วมกัน โดยเทศบาลตำบลกระสังมีนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ ที่ส่งเสริมให้          กระสังตระหนักถึงปัญหาความแตกต่างระหว่างชนเผ่าที่จะเกิดขึ้น เทศบาลตำบลกระสังจึงเป็น
         1) นโยบายในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 2) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การอนุรักษ์     หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนและเสริมสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความสมานฉันท์
         ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 3) สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์          โดยการนำกิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาเป็นจุดเด่น เพื่อเป็นเครื่องมือ
         การบูรณาการการทำงานร่วมกัน ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม หลอมรวมทั้ง 4 ชนเผ่า และ   ที่ก่อให้เกิดกระบวนการการมีส่วนร่วมของทุกชนเผ่า ทุกศาสนา เป็นการดำเนินกิจกรรมที่เป็น

         3 ศาสนา                                                                              ประจำทุกปี เป็นพื้นที่ที่ส่งเสริมให้คนในทุกชนเผ่าบูรณาการร่วมกันเพื่อเป็นประโยชน์แก่ชุมชน
                                                                                              โดยมีกระบวนการ ดังนี้
              สำหรับ โครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้าง
         สันติสุขและความสมานฉันท์ของเทศบาลตำบลกระสัง ได้แก่                                         1.  จัดเวทีประชาคมเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกชนเผ่า ทุกศาสนา มีอิสระในการแสดงความคิด
                                                                                              เห็น ร่วมกันแก้ไขปัญหา ร่วมกันรับผิดชอบท้องถิ่นของตนเอง และส่งเสริมความสามัคคี
         โครงการลานคนดี 4 ชนเผ่า

              เทศบาลตำบลกระสัง เป็นพื้นที่ที่มีทางอัตลักษณ์ทางภูมิสังคม ซึ่งประชากรมีลักษณะ         2.  ส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวันสำคัญต่างๆ
         เผ่าพันธุ์ที่ต่างกัน โดยประกอบไปด้วย 4 ชนเผ่า ได้แก่ จีน เขมร ลาว และส่วย มีความแตกต่าง    3.  ส่งเสริมการศึกษาให้แก่เยาวชนให้ได้เรียนรู้ สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมี

         ทางศาสนา ซึ่งประกอบด้วย  ศาสนาพุทธ 85% เป็นเผ่าพันธุ์ที่อพยพมาตั้งถิ่นฐาน ซึ่งแต่ละชนชาติ  คุณภาพ
         มีความแตกต่างกันกันทางภาษา ได้แก่ ภาษาเขมร ถือเป็นภาษาหลักรองลงมาจากภาษาไทย
         ประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลกระสังใช้ภาษาเขมรเป็นหลัก เนื่องจากมีพื้นที่ติดกับราชอาณาจักร        4.  เทศบาลได้จัดให้มีการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของของเด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
         กัมพูชา และยังมีคนไทยเชื้อสายเขมรซึ่งได้อพยพมาจากจังหวัดสุรินทร์มาตั้งรกรากที่ตำบลกระสัง  ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
         อีกเป็นจำนวนมาก จนมาถึงปัจจุบันมีคนไทยเชื้อสายเขมรในพื้นที่ ประมาณ 55% ภาษาจีน             กระบวนการแก้ไขปัญหาความแตกต่างทางชนเผ่าของเทศบาลตำบลกระสัง เป็นกิจกรรม
         จากคนจีนที่อพยพมาจากประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากเมืองซัวเถา มณฑลกวางตุ้ง ซึ่งปัจจุบัน     ที่มุ่งเน้นการบูรณาการร่วมกันของทุกชนชาติในพื้นที่ โดยส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรมตามความเชื่อ




        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   281   282   283   284   285   286   287   288   289   290   291