Page 290 - kpi20109
P. 290
2 2
และปัจจัยที่มาจากการร่วมมือจากทุกชนเผ่า ทุกศาสนาโดยไม่แบ่งแยกในการดำเนินกิจกรรม พื้นที่เข้าไปสร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ ทำให้พื้นที่ดังกล่าว เหลือพื้นที่ จำนวน 8.25 ไร่ ภายหลังเมื่อมี
ร่วมกันโดยผ่านประเพณีและวัฒนธรรมทุกชนเผ่าในตำบลกระสัง เพื่อหลอมรวมทั้ง 4 ชนเผ่า การขยายตัวของชุมชนจึงกลายเป็นที่ทิ้งขยะมูลฝอยของเทศบาลตำบลกระสังและเทศบาลอื่นๆ
ให้เป็น “เสื่อผืนเดียวกัน” งบประมาณในการจัดกิจกรรมส่วนใหญ่มาจากการบริจาคจากภาค ใกล้เคียง ทำให้เกิดความขัดแย้งกับผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ เพราะมีปริมาณขยะมูลฝอยค่อนข้างมาก
ประชาชนที่ต้องการพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นของตนเองให้ดีขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของ ปริมาณขยะนั้นมีความสูงมากกว่า 2 เมตร ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามัยของ
เทศบาลตำบลกระสังที่ว่า “เมืองน่าอยู่ สังคมมีสุข การศึกษามีคุณภาพ ยึดหลักธรรมาภิบาล” ประชาชน โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ช่วงที่ฝนตกนั้นจะมีแมลงวัน หนู และสัตว์ที่เป็นพาหะของโรค
ต่างๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีกลิ่นเน่าเหม็นจากขยะมูลฝอยส่งผลกระทบต่อระบบ
โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชนตาม “นโยบายจังหวัดสะอาด”
ทางเดินหายใจของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง กลายเป็นความขัดแย้งระหว่างเทศบาล
เทศบาลตำบลกระสัง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งเดียวในอำเภอกระสังที่มีระบบ ตำบลกระสังกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลอุดมธรรม ได้แก่ หมู่ที่ 1, 2, 9, 15
การบริการจัดเก็บขยะ ขนย้ายขยะและกำจัดขยะ นอกจากนี้พื้นที่เทศบาลตำบลกระสังยังเป็น และหมู่ที่ 16 และประชาชนที่ทำพื้นที่เกษตรกรรมรอบบริเวณที่รองรับขยะมูลฝอย โดยเฉพาะ
ศูนย์กลางของหน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชน ธนาคาร ตลาดสด และร้านค้าจำนวนมาก ประชาชนที่อาศัยอยู่ในหมู่ที่ 2 (มีพื้นที่ 8.75 ไร่) เพราะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง เทศบาล
รวมถึงจำนวนประชาชนที่เข้ามาจับจ่ายใช้สอยเป็นจำนวนมาก ทำให้เกิดปัญหาปริมาณขยะล้นถัง ตำบลกระสังจึงนำปัญหาความขัดแย้งเหล่านี้มาพิจารณาอย่างเร่งด่วน จึงได้มีการปรึกษาหารือ
โดยจำนวนปริมาณขยะในแต่ละวันของเทศบาลตำบลกระสังเฉลี่ยวันละ 6.2 ตันต่อวัน จากจำนวน การดำเนินงานร่วมกันกับเทศบาลตำบลอุดมธรรมซึ่งเป็นเจ้าของพื้นที่ เนื่องจากเทศบาลตำบล
ประชากรในพื้นที่ตามทะเบียน มีจำนวน 3,507 คน ซึ่งเฉลี่ยแล้วมีจำนวน 1.77 กิโลกรัมต่อคน กระสังไม่สามารถนำงบประมาณของตนมาใช้ปรับปรุงสถานที่ที่รับรองขยะมูลฝอยได้ เพราะ
เทศบาลตำบลกระสังเล็งเห็นถึงปัญหาเรื่องขยะในชุมชน จากการเฝ้าสังเกตการณ์ของเจ้าหน้าที่ ไม่สามารถทำการนอกเขตพื้นที่ได้ ทำได้เพียงดำเนินการปรับเกลี่ยฝังกลบขยะมูลฝอย ปีละ
เทศบาลตำบลกระสัง พบว่ามีประชาชนภายนอกเขตเทศบาล และประชากรแฝงเข้ามาเป็นจำนวน 3-4 ครั้งเท่านั้น เมื่อได้ข้อสรุปในการหารือร่วมกันกับเทศบาลตำบลอุดมธรรมให้เข้าใจถึงปัญหา
ทำให้ปัญหาขยะในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลกระสังกลายเป็นปัญหาใหญ่ที่จำเป็นต้องเร่งแก้ไข และ ที่ต้องเผชิญแล้ว เริ่มจากการสำรวจเพื่อจัดเวทีบูรณาการร่วมกันเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา
เนื่องจากเทศบาลตำบลกระสังนั้น ยังไม่มีพื้นที่ในการทิ้งขยะเป็นของตนเอง ต้องขออาศัยพื้นที่ ร่วมกันในการแก้ไขปัญหายะมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรม
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียงเป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับทิ้งขยะ จึงได้มีการจัดประชุมเพื่อหารือ
การแก้ไขปัญหาและหาทางออกของปัญหาขยะที่เกิดขึ้นในพื้นที่อย่างเร่งด่วน เทศบาลตำบลกระสัง เทศบาลตำบลกระสัง ได้ตรวจสอบประชาชนที่ทำเกษตรกรรมบริเวณสถานที่ที่รองรับขยะ
จึงนำแผนแม่บทมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงาน โดยการนำแผนแม่บท มูลฝอย จำนวน 8 ราย หลังจากนั้นจึงได้จัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อขอขยายพื้นที่จาก 8.25 ไร่
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559-2564) “จังหวัดสะอาด” ของกระทรวง เป็นจำนวน 10 ไร่ ซึ่งประชาชนที่ได้เข้าร่วมประชุมมีการเห็นชอบให้พื้นที่ได้ตามจำนวนที่มีความ
มหาดไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด และจัด ประสงค์ ร่วมกับสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดบุรีรัมย์ร่วมเข้าหารือเพื่อหา
กิจกรรมโครงการลดปริมาณขยะและคัดแยกขยะมูลฝอย มีการติดตั้ง “จุดรวบรวมขยะอันตราย แนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยขอให้ที่ดินสาธารณประโยชน์ จำนวน 10 ไร่ ต่อผู้ว่าราชการจังหวัด
ชุมชน” เพื่อให้กากอุตสาหกรรมที่เป็นอันตรายและมูลฝอยที่ติดเชื้อ ได้รับการกำจัดอย่างถูกต้อง บุรีรัมย์
ครบทุกหมู่บ้าน การเข้ารับฟังความคิดเห็นจากประชาชนที่ได้รับผลกระทบนั้นได้รับการประสานงานจาก
การขนย้ายขยะเพื่อนำไปกำจัดยังปลายทาง ยังคงเป็นปัญหาหลักของเทศบาลตำบลกระสัง ผู้ใหญ่บ้านน้อย หมู่ 2 จัดเวทีประชาคม ณ ศาลาบ้านน้อย ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2561 โดยมี
เนื่องจากสถานที่รองรับขยะนั้นตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของเทศบาลตำบลอุดมธรรม ซึ่งในอดีตเป็นพื้นที่ ผู้เข้าร่วมรับฟังและร่วมหารือ ได้แก่ นายอำเภอกระสัง เทศบาลตำบลอุดมธรรม เจ้าพนักงานที่ดิน
สาธารณะที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์โคกหนองแต้ จำนวนประมาณ 40 ไร่ ต่อมาเริ่มมีประชาชนบุกรุก จังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติจังหวัดบุรีรัมย์ กำนันตำบลกระสัง ผู้ใหญ่บ้านและ
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61