Page 287 - kpi20109
P. 287
2 6 2
ของแต่ละชนเผ่าให้ดำรงอยู่ เปิดกว้างให้ทุกชนชาติได้มีส่วนร่วมเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และมีการจัด 6. กิจกรรมส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยเทศบาลตำบลกระสัง
กิจกรรมขึ้นเป็นประจำทุกปี รวมถึงเทศกาลสำคัญต่างๆ ดังนี้ ส่งเสริมให้มีการจัดการแต่งกายประจำชนเผ่า จัดให้มีการเดินขบวนเพื่อสร้างความคิดสร้างสรรค์
ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่ จัดให้มีการละเล่นการแสดงที่เป็นจุดเด่นของชนเผ่า เพื่อให้ประชาชน
1. ประเพณีแซนโฎนตา (เขมร) เป็นประเพณีเซ่นไหว้บรรพบุรุษของชาวไทยเชื้อสายเขมร
ซึ่งเป็นการจัดขึ้นทุกปี เพื่อเป็นการรำลึกและเป็นการอุทิศส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ภายนอกได้เข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้สำนึกรักท้องถิ่นและบ้านเกิด
(เปรียบเสมือนการเทศกาลไหว้บรรพบุรุษของคนไทยเชื้อสายจีน) โดยเทศบาลตำบลกระสัง นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งชมรมศิลปะการแสดงพื้นบ้านเทศบาลตำบลกระสังขึ้น เพื่อเป็น
การอนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมการละเล่นพื้นบ้านของท้องถิ่นให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้และ
เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำกิจกรรม เมื่อถึงวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 10 ก็จะจัดกิจกรรมที่วัด รักษา รวมถึงเป็นกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกชนชาติ และทุกศาสนา ให้มาทำกิจกรรม
ในพื้นที่ เทศบาลตำบลกระสังก็จะทำการประชาสัมพันธ์ให้พี่น้องประชาชนได้เข้ามาร่วมทำพิธี
ได้พบปะพูดคุยเพื่อจัดทำประชาคมต่อไป ร่วมกัน
7. ส่งเสริมและสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของดีอำเภอกระสัง เทศบาลตำบลกระสังจัดให้มี
2. ประเพณีกินเจ (จีน) ได้ดำเนินกิจกรรมเป็นประจำทุกปี โดยเปิดโอกาสให้ทุกเชื้อชาติ
ทุกศาสนาเข้ามาทำกิจกรรมร่วมกัน โดยเป็นการงดการบริโภคเนื้อสัตว์ งดการฆ่าสัตว์ ไถ่ชีวิตสัตว์ การนำพืชผลทางการเกษตรที่มีในพื้นที่มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขึ้นชื่อของดีอำเภอกระสัง ของขึ้น
ด้วยการรวบรวมเงินบริจาคจากผู้ที่สนใจ โดยเทศบาลตำบลกระสังเป็นตัวกลางในการดำเนินงาน ชื่อที่นำมาแปรรูป คือ การนำผักกาดที่มีคุณภาพจากในพื้นที่มาแปรรูปเพื่อนำไปขายสร้างรายได้
และประชาสัมพันธ์ ให้ชุมชน
8. การไม่ปิดกั้นทางศาสนา เทศบาลตำบลกระสังส่งเสริมให้ทุกศาสนาในพื้นที่มี
3. ประเพณีปันโจล (มะม๊วต หรือแกลมอ) เป็นการร่ายรำ เป็นพิธีกรรมที่ชนชาติส่วย
หรือ กูย มีความเชื่อว่าเป็นการร่ายรำเพื่อรักษาอาการเจ็บป่วย โดยเป็นการร่ายรำมีดนตรีประกอบ ความเอื้อเฟื้อต่อกัน ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างกันในเรื่องของชนเผ่า และยังมีความแตกต่างกัน
ในการรักษาอาการเจ็บป่วย จุดประสงค์เพื่อให้วิญญาณบรรพบุรุษเกิดความพึงพอใจและทำให้ ทางด้านศาสนา เข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ประชาชนในพื้นที่นั้นยังอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสุข โดยที่ผ่าน
มากลุ่มชาวมุสลิมได้มีการขอสร้างมัสยิดเพื่อเป็นศาสนสถานในการประกอบพิธี เพื่อให้เป็นที่เข้าใจ
ลูกหลานเจริญรุ่งเรือง
และยอมรับของประชาชนทุกฝ่ายในพื้นที่ เทศบาลตำบลกระสังจึงทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการจัด
4. ประเพณีแห่นางแมว (ลาว) เป็นประเพณีที่เทศบาลตำบลกระสังจัดขึ้นตามประเพณี รับฟัง และขับเคลื่อนให้การสร้างมัสยิดประสบความสำเร็จ รวมถึงการสร้างโบสถ์ของศาสนาคริสต์
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ เพื่อให้ลูกหลานที่อยู่ไกลนั้นได้กลับมาแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ ในพื้นที่
เป็นพิธีที่ชาวนาแห่นางแมวเพื่อขอฝน ทำสืบต่อกันมาด้วยความเชื่อที่ว่า หากทำพิธีแห่นางแมวแล้ว ความสำเร็จของเทศบาลตำบลกระสังในการเสริมสร้างความสันติสุขและความสมานฉันท์
อีกไม่ช้าฝนก็จะตกลงมา
มาจากความตั้งใจของคณะทำงานเทศบาลตำบลกระสัง และภาคประชาชนที่ถึงแม้ว่าจะมาจาก
5. กิจกรรมจัดประชุมประชาคมและเสวนารับฟังความคิดเห็นเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาของ หลากหลายชนเผ่า รวมถึงมีความแตกต่างทางศาสนา แต่มีความต้องการให้ชุมชนและท้องถิ่นของ
เทศบาลตำบลกระสัง เป็นกิจกรรมที่เทศบาลตำบลกระสัง จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาประชาชน ตนเองมีความสันติสุข และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้กระบวนการสร้างความสมานฉันท์
ทุกชนเผ่า ทุกศาสนา เข้าด้วยกัน โดยจัดประชาคมและเสวนาหาทางออกร่วมกันระหว่างผู้นำชุมชน ดำเนินการไปได้ดี โดยมีปัจจัยความสำเร็จ คือ ปัจจัยการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน ทุกชนเผ่า
กลุ่มองค์กร/ชมรม ได้รับทราบของความคิดเห็นของประชาชน รวมถึงหาทางออกร่วมกัน ลดความ และทุกศาสนา ปัจจัยการที่เทศบาลตำบลกระสังมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมของทุกชนเผ่า ทุกศาสนา
ขัดแย้งอย่างสันติวิธีในชุมชน โดยมีชื่อว่ากิจกรรม “กระสังคนดี 4 ชนเผ่า” และจัดขึ้นเป็นประจำ และนำมาบูรณาการร่วมกันให้เกิดความเข้มแข็งในชุมชน ปัจจัยการจัดการแก้ไขปัญหาจากชุมชน
ทุกปี ผ่านทางผู้นำชุมชนเพื่อเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและพัฒนาให้ชุมชนมีความเข้มแข็งที่ดีขึ้น
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61