Page 336 - kpi20109
P. 336
5
และครัวเรือนเพื่อกระตุ้นให้เฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สำเร็จลุล่วง และประชาชน 4. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทำหน้าที่การสร้างความรู้และ
ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลท่าพระไม่ป่วยด้วยโรคพิษสุนัขบ้า ความเข้าใจเรื่องโรคพิษสุนัขบ้าผ่านแอพลิเคชั่นซึ่งเป็นโปรแกรมที่เรียกว่า “PODD” เข้าใช้ฟรี
เป็นนวัตกรรมที่คิดร่วมกับเทศบาลตำบลท่าพระในการรับแจ้งเหตุ สถานการณ์โรคระบาดและ
2. ชุมชนตำบลท่าพระ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ดำเนินการสำรวจประชากรสุนัขและ
แมวทั้งที่มีเจ้าของและไม่มีเจ้าของในการขึ้นทะเบียนสุนัขและแมว และแจ้งให้มีการจัดเตรียม การติดตามรายงานผลการควบคุมโรค แอพลิเคชั่นดังกล่าวใช้งานง่ายทำให้ชุมชนสามารถ
วัคซีนให้ครบจำนวน รวมถึงแจ้งเหตุ กรณีพบสัตว์ข่วนหรือกัด และมีสัตว์ตายไม่ทราบสาเหตุ ควบคุมและป้องกันโรคได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ยังช่วยถ่ายทอดวิธีการดูแลสัตว์เลี้ยงระบบปิด
และป้องกันความเสี่ยงจากสัตว์จรจัด การจัดสรรสัตวแพทย์ออกตรวจและทำหมันให้แก่สัตว์เลี้ยง
3. ครูและแกนนำนักเรียนจากโรงเรียนในเขตเทศบาล ทำหน้าที่ตรวจสอบและสำรวจสัตว์ และมอบวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า (ฟรี)
เลี้ยงของชุมชนตามครัวเรือน และสัตว์จรที่หลงเข้ามาในพื้นที่ให้แจ้งเหตุหากพบสมาชิกในชุมชน เครือข่ายภาคเอกชน
โดนสัตว์ข่วนหรือกัด และมีสัตว์ตายไม่ทราบสาเหตุให้เทศบาลและเครือข่ายสาธารณสุขได้รับทราบ
และเข้าควบคุมโรคได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งส่งข้อมูลให้กับสมาชิกในครอบครัวและในโรงเรียน ตัวแทนบริษัทเพ็ทแทรคไทย จำกัด ให้ความรู้และสาธิตการใช้งานและฝังไมโครชิพในสัตว์
สอดส่องและรายงานกรณีโดนสัตว์กัดหรือข่วน และจัดหาไมโครชิพพร้อมอุปกรณ์ให้แก่เทศบาลตำบลท่าพระ
4. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน รณรงค์และสร้างความร่วมมือในการ เครือข่ายภาคประชาสังคม
ประชาสัมพันธ์ ส่งข้อมูลและการดูแลตนเองเบื้องต้น กระตุ้นเตือนสมาชิกในชุมชนให้เฝ้าระวังและ วัดเทพปูรนาราม วัดท่าพระหงษ์เทศน์ประดิษฐ์ วัดศิริมงคล วัดท่าพระเนาว์ โดยมีวัดเทพ
ควบคุมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ปูรนาราม เป็นวัดนำร่องในการรองรับสัตว์ตายไม่ทราบสาเหตุในหมู่บ้านหรือชุมชนเพื่อนำมาเผา
เครือข่ายรอง และจัดตั้งศูนย์พักพิง กักกัน เฝ้าระวังอาการและควบคุมประชากรสัตว์ที่ไม่มีเจ้าของให้อยู่เป็น
สัดส่วน อย่างไรก็ดี ศูนย์ดังกล่าวมีการวางแผนในอนาคตไม่มีความจำเป็นต้องยุบเนื่องจาก
1. สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานปศุสัตว์เขต 4 เป็น
เครือข่ายสนับสนุนวิทยากรบรรยายความรู้เกี่ยวกับโรค วัสดุอุปกรณ์ และการให้ยืมวัคซีนป้องกัน เทศบาลตำบลท่าพระประสบความสำเร็จในการควบคุมและป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าได้แล้ว
โรคในช่วงเวลาที่วัคซีนขาดแคลนและเทศบาลตำบลท่าพระจัดซื้อไม่ได้ วิธีการบริหารงานเครือข่ายนั้นเทศบาลตำบลท่าพระได้ออกแบบหลักคิดและบริหารงาน
เชิงรุกในการกำหนดกิจกรรมย่อยในหลายมิติร่วมกับเครือข่ายเพื่อให้ครอบคลุมถึงเป้าหมาย
2. สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 7 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงาน
สาธารณสุขอำเภอ ดำเนินการรับผิดชอบร่วมกับเทศบาลตำบลท่าพระในการให้ความร่วมมือและ ที่วางไว้ โดยกำหนดให้เครือข่ายหลัก เครือข่ายรอง เครือข่ายภาครัฐ เอกชนและประชาสังคม
ร่วมกันแบ่งปันความรู้ สร้างกระบวนการงาน และประสานข้อมูลร่วมกัน ทั้งนี้ กิจกรรมที่เกิดขึ้น
การสนับสนุนในเรื่องของบุคลากรให้ความรู้เรื่องการควบคุมโรค มาตรการป้องกันความเสี่ยง
เอกสารแผ่นพับประชาสัมพันธ์เพื่อให้ชุมชนตระหนักและนำไปกลับไปวางแผนป้องกันโรคพิษ มีดังนี้
สุนัขบ้า 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ “อาสาสมัครเฝ้าระวังสุขภาพหนึ่งเดียวเทศบาลตำบลท่าพระ”
(PODD SRRT THAPHRA) คือ การอบรมภาคปฏิบัติเพื่อให้ความรู้ เฝ้าระวัง ติดตาม ป้องกัน
3. โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบัวดีหมี โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าพระ รับผิดชอบเรื่องการติดตามผู้ป่วยรายที่ถูกสุนัข- แมวข่วนหรือกัดให้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้แก่กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ครูและ
ได้รับวัคซีนป้องกันบาดทะยัก และวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ครบจำนวน เยาวชนในโรงเรียน ทำให้เกิดกลุ่มอาสาสมัครที่สามารถเป็นแกนหลักในการแจ้งเหตุ นำส่งซากสุนัข
แมว สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่งศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61