Page 331 - kpi20109
P. 331
0 1
กิจกรรมของชุมชนคืนจากการทางรถไฟแห่งประเทศแต่ได้รับการปฏิเสธมีเพียงการบรรเทาต่อ ที่สำคัญ เทศบาลตำบลท่าพระมีความเป็นเลิศด้านสร้างการบริหารร่วมกับเครือข่าย
ข้อเรียกร้องแทนด้วยการสร้างก่อสร้างสถานที่ส่วนหนึ่งสำหรับการออกกำลังกายแทนคืนให้แก่ ด้วยการออกแบบระบบฐานข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชน การถอดบทเรียนข้อมูลในทุกมิติของตำบล
ชุมชน แต่ชุมชนท่าพระเห็นพ้องร่วมกันว่าประวัติศาสตร์ท่าพระสูญหายไปเพราะความทันสมัยของ ท่าพระโดยให้เครือข่ายเข้ามาดำเนินการอย่างเป็นระบบ นำมาซึ่งจุดขายและเป็นทำให้ทุกคน
การพัฒนาเมืองที่ไม่คำนึงถึงบริบทของพื้นที่ ซึ่งชุมชนท่าพระต้องการอนุรักษ์อาคารบ้านเรือน ได้ร่วมกันแสดงพลังความรักในสำนึกรักบ้านเกิดของคนในตำบลท่าพระด้วยกันเอง โดยเทศบาล
โบราณและประวัติศาสตร์ของสถานีรถไฟแบบดั้งเดิมไว้ให้เยาวชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ ด้วยเหตุนี้ ตำบลท่าพระใช้วิธีการเชื่อมโยงและสร้างแนวทางการทำงานให้เครือข่ายร่วมกันขับเคลื่อนโครงการ
จึงได้ทำประชาคมขออาคารสถานีรถไฟเพื่อสร้างเป็นศูนย์เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ แต่ทาง เพื่ออนุรักษ์และปกป้องทรัพยากรของตำบลท่าพระที่กำลังจะสูญหายไป โดยประสานให้เครือข่าย
การรถไฟได้ดำเนินการให้เอกชนเช่าพื้นที่เรียบร้อยแล้ว หากชุมชนต้องการสร้างศูนย์เรียนรู้จะต้อง ทั้งในและนอกพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการ ดังนี้
ทำเรื่องขอซื้ออาคารจากการทางรถไฟ
เครือข่ายหลัก ได้แก่
ความพยายามต่อสู้เพื่อการอนุรักษ์คุณค่าสิ่งที่ชุมชนหวงแหนจึงนำมาสู่กระบวนมีส่วนร่วม 1. เทศบาลตำบลท่าพระ มีหน้าที่และบทบาทหลักในการเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงทุก
ทางด้านเครือข่ายอย่างเข้มแข็งเพื่อเสนอหนทางแก้ไขปัญหา จนในที่สุดชุมชนจึงพร้อมใจกันระดม เครือข่ายในการดำเนินการจัดตั้งตลาดท่าพระร้อยปี ประสานกับการทางรถไฟแห่งประเทศไทย
ทุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการซื้ออาคารสถานีรถไฟเป็นศูนย์เรียนรู้ตำบลท่าพระ การระดม ในการขอคืนพื้นที่ ประสานจัดประชุมชาวตลาดท่าพระร่วมกับเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง จัดทำ
งบประมาณด้วยการจัดทำผ้าป่าเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายอาคารสถานีรถไฟ เครื่องจักร แผนงานและงบประมาณดำเนินการร่วมกับเครือข่ายหลักและเครือข่ายสนับสนุน การประสานงาน
บ้านพักพร้อมหัวรถจักร การขอเช่าพื้นที่การออกกำลังกายให้แก่ชุมชน และได้มีการแต่งตั้ง จัดทำเวทีข้อตกลงร่วมกันอนุรักษ์อาคารบ้านเดิม การประชาสัมพันธ์ในการให้เครือข่ายต่างๆ
คณะกรรมการดำเนินการตลาดท่าพระร้อยปีเพื่อให้มีการจัดตั้งตลาดท่าพระร้อยปี ทั้งหมดนี้ ได้แบ่งปันข้อมูล ประสานการทำงานและเข้าร่วมในการประชุมแต่ละครั้ง
เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการของชุมชนเพื่อปกป้องและอนุรักษ์ประวัติศาสตร์ของชุมชน
ท่าพระได้อย่างชัดเจน 2. ชุมชนทุกชุมชนตำบลท่าพระ ร่วมประชุมปรึกษาหารือ การให้ความคิดเห็นในการ
อนุรักษ์อาคารและกำหนดแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ให้แก่เครือข่าย ยินยอมให้ดำเนินการปรับปรุง
รูปแบบที่เป็นเลิศในการสร้างความสำเร็จ คือ กระบวนการบริหารงานเครือข่ายอย่าง
ลึกซึ้งและตกผลึกเป็นฐานการทำงานร่วมกันของเครือข่าย จนได้นวัตกรรมทางความคิด แนวหน้าบ้าน
“ปักใจรุก” คือ การกระตุ้นและเน้นย้ำให้เครือข่ายมาร่วมประชุมและปรึกษาเรื่องการสร้างชุมชนที่ 3. สถาบันการศึกษาในพื้นที่ ได้แก่ โรงเรียนชุมชนท่าพระ โรงเรียนเทศบาลท่าพระ
น่าอยู่ การค้นหาโจทย์ร่วมกันและสร้างพลังจากเครือข่ายให้เข้าร่วมมือเพื่อทำเป้าหมายให้สำเร็จ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิคนครขอนแก่น สนับสนุนครูร่วม
“ปลุกใจรัก” คือ การสร้างกิจกรรมประชาคมให้เยาวชนคนรุ่นใหม่ที่อยู่ในพื้นที่ได้เรียนรู้ สำรวจ กิจกรรมศิลปวัฒนธรรม การนำเด็กและเยาวชนมาร่วมทำกิจกรรมการแสดงวัฒนธรรมผลัด
ชุมชนจากปราชญ์ชุมชนเพื่อสร้างจิตสำนึกรักบ้านเกิดและเปิดพื้นที่ให้กลุ่มเยาวชนได้สร้างโอกาส เปลี่ยนกันตลอดเดือน รวมทั้งร่วมกับชุมชนทาสีอาคารบ้านเรือน นำเด็กและเยาวชนอบรมเป็น
การแสดงออกทางความสามารถ และ “สร้างการมีส่วนร่วม” คือ การสร้างพื้นที่สร้างสรรค์โดยนำ มัคคุเทศก์น้อย ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ตำบลท่าพระสู่สาธารณะ
ผลลัพธ์จากปักใจรุกและปลุกใจรักให้เกิดขึ้นจนกลายเป็นพลังแห่งการมีส่วนร่วมของเครือข่าย 4. สภาเทศบาลตำบลท่าพระ ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
อาทิเช่น กิจกรรมระดมทุนผ้าป่า การจำหน่ายสินค้าชุมชน การแสดงฟ้อนรำ การร้องสรภัญญะ มีหน้าที่ในการร่วมแรงทาสีอาคารบ้านเรือน ขัดล้างพื้นที่แนวหน้าบ้านตลอดแนวถนนพาณิชย์เจริญ
การแสดงหมอลำ การร้องเพลงเปิดหมวก การผลิตหนังสั้น ประกวดกิจกรรมไก่ย่างท่าพระ ให้มีความสะอาด
การแต่งกายไทยย้อนยุค เป็นต้น
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61